มาลาเรีย
จาก ChulaPedia
(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
แถว 7: | แถว 7: | ||
ปัจจุบัน มีการใช้สาร artemisinin ซึ่งมีกลไกการฆ่าเชื้อมาลาเรียที่แตกต่างจากสารชนิดอื่น โดยโครงสร้างของสาร มีอะตอมของออกซิเจน 2 อะตอมต่อกันเป็นสะพานเชื่อม ทำให้สามารถสร้างอนุมูลอิสระไปทำลายเชื้อมาลาเรียที่กัดกินเม็ดเลือดแดงได้ | ปัจจุบัน มีการใช้สาร artemisinin ซึ่งมีกลไกการฆ่าเชื้อมาลาเรียที่แตกต่างจากสารชนิดอื่น โดยโครงสร้างของสาร มีอะตอมของออกซิเจน 2 อะตอมต่อกันเป็นสะพานเชื่อม ทำให้สามารถสร้างอนุมูลอิสระไปทำลายเชื้อมาลาเรียที่กัดกินเม็ดเลือดแดงได้ | ||
+ | |||
+ | |||
+ | '''''ที่มาข้อมูล''''' จุฬาฯสัมพันธ์ | ||
'''''รวบรวมและเรียบเรียงบทความ''''' ศูนย์สื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ | '''''รวบรวมและเรียบเรียงบทความ''''' ศูนย์สื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ |
การปรับปรุง เมื่อ 08:05, 14 กันยายน 2554
มาลาเรีย เป็นโรคที่พบเฉพาะในพื้นที่เขตร้อน และพบมากในจังหวัดตามแนวชายแดน และจังหวัดที่มีป่าทึบ องค์การอนามัยโลกรายงานว่าในทุกๆ ปีจะมีประชากรโลกจำนวนกว่า 400 ล้านคนล้มป่วยด้วยโรคมาลาเรีย และประมาณ 2 ล้านคนจากจำนวนดังกล่าวต้องเสียชีวิต
การรักษาโรคมาลาเรีย
ในยุคเริ่มแรกมีการใช้ยาควินินที่ผลิตจากเปลือกของต้นชิงโคนา และใช้กันเรื่อยมา แต่เชื้อมาลาเรียมีวงจรชีวิตอยู่ทั้งในคนและยุง จึงสามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็วและเกิดการดื้อยาในที่สุด
ปัจจุบัน มีการใช้สาร artemisinin ซึ่งมีกลไกการฆ่าเชื้อมาลาเรียที่แตกต่างจากสารชนิดอื่น โดยโครงสร้างของสาร มีอะตอมของออกซิเจน 2 อะตอมต่อกันเป็นสะพานเชื่อม ทำให้สามารถสร้างอนุมูลอิสระไปทำลายเชื้อมาลาเรียที่กัดกินเม็ดเลือดแดงได้
ที่มาข้อมูล จุฬาฯสัมพันธ์
รวบรวมและเรียบเรียงบทความ ศูนย์สื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ