ใบลิ้นงูเห่า
จาก ChulaPedia
(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'ลิ้นงูเห่า เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย สูง 1.5 – 4 เมตร ลักษณ…') |
|||
(การแก้ไขหนึ่งรุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
ลิ้นงูเห่า เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย สูง 1.5 – 4 เมตร ลักษณะใบเป็นรูปหอก มีก้านใบยาว ดอกมีสีส้มแดง ออกเป็นช่อกระจุกที่ปลายกิ่ง ผลมีลักษณะแห้งและแตก ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด | ลิ้นงูเห่า เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย สูง 1.5 – 4 เมตร ลักษณะใบเป็นรูปหอก มีก้านใบยาว ดอกมีสีส้มแดง ออกเป็นช่อกระจุกที่ปลายกิ่ง ผลมีลักษณะแห้งและแตก ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด | ||
+ | [[ไฟล์:ลิ้นงูเห่า.jpg]] | ||
== สรรพคุณทางยา == | == สรรพคุณทางยา == | ||
แถว 8: | แถว 9: | ||
'''ใบ''' สามารถใช้แก้พิษร้อนอักเสบ และอาการปวดฝี | '''ใบ''' สามารถใช้แก้พิษร้อนอักเสบ และอาการปวดฝี | ||
+ | |||
+ | |||
+ | '''''ที่มาข้อมูล''''' จุฬาฯสัมพันธ์ | ||
'''''รวบรวมและเรียบเรียงบทความ''''' ศูนย์การสื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ | '''''รวบรวมและเรียบเรียงบทความ''''' ศูนย์การสื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ |
รุ่นปัจจุบันของ 08:09, 14 กันยายน 2554
ลิ้นงูเห่า เป็นไม้พุ่มรอเลื้อย สูง 1.5 – 4 เมตร ลักษณะใบเป็นรูปหอก มีก้านใบยาว ดอกมีสีส้มแดง ออกเป็นช่อกระจุกที่ปลายกิ่ง ผลมีลักษณะแห้งและแตก ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด
สรรพคุณทางยา
ราก สามารถนำไปตำแล้วพอก ใช้สำหรับแก้พิษตะขาบ และแมลงป่องต่อย
ใบ สามารถใช้แก้พิษร้อนอักเสบ และอาการปวดฝี
ที่มาข้อมูล จุฬาฯสัมพันธ์
รวบรวมและเรียบเรียงบทความ ศูนย์การสื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ