ผลของโปรแกรมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยกระดูกขาหัก
จาก ChulaPedia
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพ…') |
|||
(การแก้ไข 4 รุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน | ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน | ||
Effect of Perceived Self-Efficacy Promoting Program on Rehabilitation Behavior in Patients with Femoral Fracture Receiving Internal Fixation | Effect of Perceived Self-Efficacy Promoting Program on Rehabilitation Behavior in Patients with Femoral Fracture Receiving Internal Fixation | ||
+ | |||
+ | |||
การวิจัยแบบกึ่งทดลอง ชนิดศึกษาสองกลุ่มวัดหลังการทดลองในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในซึ่งเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก โรงพยาบาลศูนย์ตรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ จำนวน 50 คน และกำหนดให้ผู้ป่วย 25 คนแรกเป็นกลุ่มควบคุม และอีก 25 คนเป็นกลุ่มทดลอง โดยจับคู่กลุ่มตัวอย่างทั้งสองให้มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันในด้านเพศและอายุ กลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสภาพ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ซึ่งนำแนวคิดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของ Bandura (1997) มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมจำนวน 4 ครั้งโดยใช้เวลาในการทดลองทั้งหมด 8 สัปดาห์ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ใส่โลหะยึดตรึงภายใน ซึ่งมีความตรงตามเนื้อหา และมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | การวิจัยแบบกึ่งทดลอง ชนิดศึกษาสองกลุ่มวัดหลังการทดลองในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในซึ่งเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก โรงพยาบาลศูนย์ตรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ จำนวน 50 คน และกำหนดให้ผู้ป่วย 25 คนแรกเป็นกลุ่มควบคุม และอีก 25 คนเป็นกลุ่มทดลอง โดยจับคู่กลุ่มตัวอย่างทั้งสองให้มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันในด้านเพศและอายุ กลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสภาพ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ซึ่งนำแนวคิดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของ Bandura (1997) มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมจำนวน 4 ครั้งโดยใช้เวลาในการทดลองทั้งหมด 8 สัปดาห์ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ใส่โลหะยึดตรึงภายใน ซึ่งมีความตรงตามเนื้อหา และมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | ||
ข้อจำกัดการวิจัย | ข้อจำกัดการวิจัย | ||
- | 1. | + | 1. ไม่สามารถวัดได้ว่าผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในมีกระดูกหักซ้ำ |
- | 2. | + | หรือไม่ เนื่องจากมีข้อจำกัดเรื่องระยะเวลา ซึ่งเวลาที่จะสามารถประเมินได้คือระยะเวลา 3 – 6 เดือน |
- | 3. | + | 2. ต้องมีการวัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของผู้ป่วยก่อนการทดลองและเปรียบเทียบ |
+ | ระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง เพื่อดูความแตกต่างภายหลังการทดลอง | ||
+ | 3. แบบสอบถามที่นำมาใช้มีภาษาที่กำกวมอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความสับสนในการตอบ | ||
+ | แบบสอบถาม | ||
การนำไปใช้ประโยชน์ | การนำไปใช้ประโยชน์ | ||
พยาบาลที่ปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก สามารถนำโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน ด้านการมีพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นและมีประโยชน์ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่เกิดตามมา จากการมีพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพหลังผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในที่ไม่เหมาะสมของผู้ป่วย นอกจากนี้ควรนำกิจกรรมอื่นๆเข้ามาร่วมกับพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพหลังการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในเพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้น | พยาบาลที่ปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก สามารถนำโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน ด้านการมีพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นและมีประโยชน์ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่เกิดตามมา จากการมีพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพหลังผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในที่ไม่เหมาะสมของผู้ป่วย นอกจากนี้ควรนำกิจกรรมอื่นๆเข้ามาร่วมกับพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพหลังการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในเพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้น |
รุ่นปัจจุบันของ 09:14, 3 ธันวาคม 2555
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน Effect of Perceived Self-Efficacy Promoting Program on Rehabilitation Behavior in Patients with Femoral Fracture Receiving Internal Fixation
การวิจัยแบบกึ่งทดลอง ชนิดศึกษาสองกลุ่มวัดหลังการทดลองในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในซึ่งเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก โรงพยาบาลศูนย์ตรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ จำนวน 50 คน และกำหนดให้ผู้ป่วย 25 คนแรกเป็นกลุ่มควบคุม และอีก 25 คนเป็นกลุ่มทดลอง โดยจับคู่กลุ่มตัวอย่างทั้งสองให้มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันในด้านเพศและอายุ กลุ่มทดลองเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการฟื้นฟูสภาพ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ซึ่งนำแนวคิดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของ Bandura (1997) มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมจำนวน 4 ครั้งโดยใช้เวลาในการทดลองทั้งหมด 8 สัปดาห์ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ใส่โลหะยึดตรึงภายใน ซึ่งมีความตรงตามเนื้อหา และมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.88 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อจำกัดการวิจัย
1. ไม่สามารถวัดได้ว่าผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในมีกระดูกหักซ้ำ
หรือไม่ เนื่องจากมีข้อจำกัดเรื่องระยะเวลา ซึ่งเวลาที่จะสามารถประเมินได้คือระยะเวลา 3 – 6 เดือน
2. ต้องมีการวัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อของผู้ป่วยก่อนการทดลองและเปรียบเทียบ
ระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง เพื่อดูความแตกต่างภายหลังการทดลอง
3. แบบสอบถามที่นำมาใช้มีภาษาที่กำกวมอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความสับสนในการตอบ
แบบสอบถาม
การนำไปใช้ประโยชน์
พยาบาลที่ปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก สามารถนำโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยกระดูกขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน ด้านการมีพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นและมีประโยชน์ในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่เกิดตามมา จากการมีพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพหลังผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในที่ไม่เหมาะสมของผู้ป่วย นอกจากนี้ควรนำกิจกรรมอื่นๆเข้ามาร่วมกับพฤติกรรมการฟื้นฟูสภาพหลังการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายในเพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้น