PLZT Ceramics
จาก ChulaPedia
(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
แถว 7: | แถว 7: | ||
[[ไฟล์:แผนภาพจำลองโครงสร้างของวัสดุ PLZT.jpg]] | [[ไฟล์:แผนภาพจำลองโครงสร้างของวัสดุ PLZT.jpg]] | ||
+ | รูปที่ 1 แผนภาพจำลองโครงสร้างของวัสดุ PLZT | ||
- | + | เนื่องจากโครงสร้างผลึกของ PLZT อยู่ในระบบผลึกเททระโกนัล (tetragonal) ดังในรูปที่ 1 และมีการเคลื่อนตัวออกจาก | |
- | เนื่องจากโครงสร้างผลึกของ PLZT อยู่ในระบบผลึกเททระโกนัล (tetragonal) ดังในรูปที่ 1 | + | จุดศูนย์กลางเล็กน้อยของไอออนในตำแหน่ง B เป็นเหตุให้ผลึก ของวัสดุ PLZT มีการโพลาไรเซชันในตัวเอง ดังเห็นได้ชัดเจนใน |
+ | รูปที่ 2 ซึ่งแสดงทิศทางของไดโพลในโครงสร้างผลึก และด้วยความยืดหยุ่นทางไดโพลนี้เองทำให้วัสดุดังกล่าวสามารถเปลี่ยนขั้วไดโพล | ||
+ | ได้ด้วยสนามไฟฟ้า | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:แผนภาพจำลองการโพลาไรเซชันของวัสดุ PLZT.jpg]] | ||
+ | รูปที่ 2 แผนภาพจำลองการโพลาไรเซชันของวัสดุ PLZT |
การปรับปรุง เมื่อ 08:43, 31 พฤษภาคม 2556
เลดแลนทานัมเซอร์โคเนตไททาเนต (PLZT)
เลดแลนทานัมเซอร์โคเนตไททาเนต (PLZT) คือ วัสดุเฟร์โรอิเล็คทริกชนิดหนึ่งซึ่งมีโครงสร้างผลึกแบบ Perovskite
และมีสูตรโครงสร้างอย่างง่าย คือ ABO3 โดยตะกั่วไอออนและแลนทานัมไอออน บรรจุอยู่ในตำแหน่งของ A ส่วนเซอร์โคเนียม ไอออนและไทเทเนียมไอออน บรรจุอยู่ในตำแหน่งของ B ดังเห็นแผนภาพจำลองได้ใน รูปที่ 1 ซึ่งสามารถเขียนสูตรทางเคมีได้เป็น
Pb1-xLax(ZryTi1-y)1-x/4O3
รูปที่ 1 แผนภาพจำลองโครงสร้างของวัสดุ PLZT
เนื่องจากโครงสร้างผลึกของ PLZT อยู่ในระบบผลึกเททระโกนัล (tetragonal) ดังในรูปที่ 1 และมีการเคลื่อนตัวออกจาก
จุดศูนย์กลางเล็กน้อยของไอออนในตำแหน่ง B เป็นเหตุให้ผลึก ของวัสดุ PLZT มีการโพลาไรเซชันในตัวเอง ดังเห็นได้ชัดเจนใน รูปที่ 2 ซึ่งแสดงทิศทางของไดโพลในโครงสร้างผลึก และด้วยความยืดหยุ่นทางไดโพลนี้เองทำให้วัสดุดังกล่าวสามารถเปลี่ยนขั้วไดโพล ได้ด้วยสนามไฟฟ้า