การบริหารกายจิตแบบชี่กง

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
แถว 4: แถว 4:
ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน  ส่วนใหญ่จะมาโรงพยาบาลด้วยอาการปวดท้องอย่างรุนแรงและเฉียบพลันหรือมีเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร เมื่อแพทย์วินิจฉัยได้ว่าต้องได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด  ผู้ป่วยจะได้รับการแก้ไขภาวะต่างๆ เพื่อให้มีความพร้อมต่อการผ่าตัด และต้องได้รับการผ่าตัดโดยเร็วที่สุด ผู้ป่วยมีเวลาในการปรับตัวน้อยจึงรู้สึกวิตกกังวล เป็นทุกข์และกลัวผลของการผ่าตัด ความวิตกกังวลเกิดขึ้นทั้งในระยะก่อนการผ่าตัดและหลังการผ่าตัด  ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกควบคุมหรือจัดการตนเองเกี่ยวกับความปวดและการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ลดลง  ขาดความมั่นใจในการดูแลตนเอง  ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยหลังผ่าตัดได้ทั้งด้านร่างกาย เช่น ปวดแผลผ่าตัดมาก  แผลแยก แผลติดเชื้อ และมีการใช้ยาแก้ปวดมากขึ้น ส่วนด้านจิตใจนั้นเกิดความวิตกกังวล ความเครียดและกลัวต่อความเจ็บปวดหลังผ่าตัดสูง เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ระยะเวลานอนในโรงพยาบาลนานกว่าปกติ  ถูกแยกจากครอบครัวและสังคม สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น  เมื่อผู้ป่วยมีความวิตกกังวลสูงจะทำให้เกิดความปวดหลังผ่าตัดและความรุนแรงของความปวดจะเพิ่มสูงขึ้น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลและความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน  ในกลุ่มทดลองก่อนและหลังการทดลอง และระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน  หอผู้ป่วยศัลยกรรม  ในโรงพยาบาล  เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงซึ่งมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 40 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 20 ราย และกลุ่มทดลอง 20 ราย โดยการจับคู่ให้กลุ่มตัวอย่างมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องของอายุ  เพศ  การวินิจฉัยโรค และชนิดของการผ่าตัด  กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติและโปรแกรมการจัดการอาการที่เน้นการบริหารกาย-จิตแบบชี่กง  ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ผู้วิจัยพัฒนาจากแนวคิดการจัดการอาการของ Dodd  และคณะ (2001) ร่วมกับแนวคิดการบริหารกาย-จิตแบบชี่กง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติบรรยาย และสถิติทดสอบค่าที  
ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน  ส่วนใหญ่จะมาโรงพยาบาลด้วยอาการปวดท้องอย่างรุนแรงและเฉียบพลันหรือมีเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร เมื่อแพทย์วินิจฉัยได้ว่าต้องได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด  ผู้ป่วยจะได้รับการแก้ไขภาวะต่างๆ เพื่อให้มีความพร้อมต่อการผ่าตัด และต้องได้รับการผ่าตัดโดยเร็วที่สุด ผู้ป่วยมีเวลาในการปรับตัวน้อยจึงรู้สึกวิตกกังวล เป็นทุกข์และกลัวผลของการผ่าตัด ความวิตกกังวลเกิดขึ้นทั้งในระยะก่อนการผ่าตัดและหลังการผ่าตัด  ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกควบคุมหรือจัดการตนเองเกี่ยวกับความปวดและการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ลดลง  ขาดความมั่นใจในการดูแลตนเอง  ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยหลังผ่าตัดได้ทั้งด้านร่างกาย เช่น ปวดแผลผ่าตัดมาก  แผลแยก แผลติดเชื้อ และมีการใช้ยาแก้ปวดมากขึ้น ส่วนด้านจิตใจนั้นเกิดความวิตกกังวล ความเครียดและกลัวต่อความเจ็บปวดหลังผ่าตัดสูง เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ระยะเวลานอนในโรงพยาบาลนานกว่าปกติ  ถูกแยกจากครอบครัวและสังคม สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น  เมื่อผู้ป่วยมีความวิตกกังวลสูงจะทำให้เกิดความปวดหลังผ่าตัดและความรุนแรงของความปวดจะเพิ่มสูงขึ้น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลและความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน  ในกลุ่มทดลองก่อนและหลังการทดลอง และระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน  หอผู้ป่วยศัลยกรรม  ในโรงพยาบาล  เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงซึ่งมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 40 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 20 ราย และกลุ่มทดลอง 20 ราย โดยการจับคู่ให้กลุ่มตัวอย่างมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องของอายุ  เพศ  การวินิจฉัยโรค และชนิดของการผ่าตัด  กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติและโปรแกรมการจัดการอาการที่เน้นการบริหารกาย-จิตแบบชี่กง  ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ผู้วิจัยพัฒนาจากแนวคิดการจัดการอาการของ Dodd  และคณะ (2001) ร่วมกับแนวคิดการบริหารกาย-จิตแบบชี่กง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติบรรยาย และสถิติทดสอบค่าที  
              
              
-
 
+
                ผลการวิจัยพบว่า  ความวิตกกังวลของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมฯ ต่ำกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t=10.71, p<.05) และต่ำกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t=6.04, p<.05) ความปวดในกลุ่มทดลองหลังได้รับโปรแกรมฯ ในระยะ 48 ชั่วโมง และ 72 ชั่วโมงหลังผ่าตัดต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t=1.58 และ1.89 ตามลำดับ, p<.05)
-
              ผลการวิจัยพบว่า  ความวิตกกังวลของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมฯ ต่ำกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t=10.71, p<.05) และต่ำกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t=6.04, p<.05) ความปวดในกลุ่มทดลองหลังได้รับโปรแกรมฯ ในระยะ 48 ชั่วโมง และ 72 ชั่วโมงหลังผ่าตัดต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t=1.58 และ1.89 ตามลำดับ, p<.05)
+
โดย นางสาวจรินทร์  พวกยะ  อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.ดร. สุรีพร  ธนซิลป์
โดย นางสาวจรินทร์  พวกยะ  อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.ดร. สุรีพร  ธนซิลป์

การปรับปรุง เมื่อ 02:45, 18 มิถุนายน 2556

ผลของการจัดการอาการที่เน้นการบริหารกาย-จิตแบบชี่กงต่อความวิตกกังวลและความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน (EFFECTS OF SYMPTOM MANAGEMENT FOCUSING ON QI-GONG PRACTICE PROGRAM ON ANXIETY AND PAIN AMONG THE EMERGENT ABDOMINAL SURGERY PATIENTS)

ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน ส่วนใหญ่จะมาโรงพยาบาลด้วยอาการปวดท้องอย่างรุนแรงและเฉียบพลันหรือมีเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร เมื่อแพทย์วินิจฉัยได้ว่าต้องได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด ผู้ป่วยจะได้รับการแก้ไขภาวะต่างๆ เพื่อให้มีความพร้อมต่อการผ่าตัด และต้องได้รับการผ่าตัดโดยเร็วที่สุด ผู้ป่วยมีเวลาในการปรับตัวน้อยจึงรู้สึกวิตกกังวล เป็นทุกข์และกลัวผลของการผ่าตัด ความวิตกกังวลเกิดขึ้นทั้งในระยะก่อนการผ่าตัดและหลังการผ่าตัด ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกควบคุมหรือจัดการตนเองเกี่ยวกับความปวดและการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ลดลง ขาดความมั่นใจในการดูแลตนเอง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยหลังผ่าตัดได้ทั้งด้านร่างกาย เช่น ปวดแผลผ่าตัดมาก แผลแยก แผลติดเชื้อ และมีการใช้ยาแก้ปวดมากขึ้น ส่วนด้านจิตใจนั้นเกิดความวิตกกังวล ความเครียดและกลัวต่อความเจ็บปวดหลังผ่าตัดสูง เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ระยะเวลานอนในโรงพยาบาลนานกว่าปกติ ถูกแยกจากครอบครัวและสังคม สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น เมื่อผู้ป่วยมีความวิตกกังวลสูงจะทำให้เกิดความปวดหลังผ่าตัดและความรุนแรงของความปวดจะเพิ่มสูงขึ้น การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความวิตกกังวลและความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน ในกลุ่มทดลองก่อนและหลังการทดลอง และระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน หอผู้ป่วยศัลยกรรม ในโรงพยาบาล เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงซึ่งมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 40 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 20 ราย และกลุ่มทดลอง 20 ราย โดยการจับคู่ให้กลุ่มตัวอย่างมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องของอายุ เพศ การวินิจฉัยโรค และชนิดของการผ่าตัด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติและโปรแกรมการจัดการอาการที่เน้นการบริหารกาย-จิตแบบชี่กง ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ผู้วิจัยพัฒนาจากแนวคิดการจัดการอาการของ Dodd และคณะ (2001) ร่วมกับแนวคิดการบริหารกาย-จิตแบบชี่กง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติบรรยาย และสถิติทดสอบค่าที

               ผลการวิจัยพบว่า  ความวิตกกังวลของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมฯ ต่ำกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t=10.71, p<.05) และต่ำกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t=6.04, p<.05) ความปวดในกลุ่มทดลองหลังได้รับโปรแกรมฯ ในระยะ 48 ชั่วโมง และ 72 ชั่วโมงหลังผ่าตัดต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t=1.58 และ1.89 ตามลำดับ, p<.05)

โดย นางสาวจรินทร์ พวกยะ อาจารย์ที่ปรึกษา : รศ.ดร. สุรีพร ธนซิลป์

เครื่องมือส่วนตัว