การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษาจากตัวแปรคัดสรร

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''== การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษ…')
 
แถว 4: แถว 4:
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์ตัวแปรคัดสรรของปัจจัยป้อน ปัจจัยกระบวนการ และปัจจัยผลผลิตที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษา  2) เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษา ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ โรงเรียนสองภาษาที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ จำนวน 80 โรงเรียน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสัมภาษณ์ และข้อมูลจากแบบบันทึกรายการและแบบสอบถาม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติพื้นฐานและวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้วยเทคนิคการล้อมกรอบข้อมูลโดยโปรแกรม DEAP 2.1
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์ตัวแปรคัดสรรของปัจจัยป้อน ปัจจัยกระบวนการ และปัจจัยผลผลิตที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษา  2) เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษา ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ โรงเรียนสองภาษาที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ จำนวน 80 โรงเรียน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสัมภาษณ์ และข้อมูลจากแบบบันทึกรายการและแบบสอบถาม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติพื้นฐานและวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้วยเทคนิคการล้อมกรอบข้อมูลโดยโปรแกรม DEAP 2.1
ผลการวิจัยพบว่า 1) ตัวแปรคัดสรรที่ใช้ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษา ได้แก่ ด้านปัจจัยป้อน ประกอบตัวแปร 9 ตัวแปร ปัจจัยกระบวนการ ประกอบด้วย 5 ตัวแปร และปัจจัยผลผลิต ประกอบด้วย 4 ตัวแปร 2) การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษาจากปัจจัยป้อน  ปัจจัยกระบวนการ และปัจจัยผลผลิต ในภาพรวมทั้งประเทศจำนวนทั้งสิ้น 80 โรงเรียน พบว่า โรงเรียนสองภาษาส่วนใหญ่มีคะแนนประสิทธิภาพเท่ากับ 60.00-69.99% มีโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษ จำนวน 8 โรงเรียน (ร้อยละ 10.00) และโรงเรียนที่ไม่มีประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษ จำนวน 72 โรงเรียน (ร้อยละ90.00) ภาคที่มีจำนวนโรงเรียนสองภาษาที่มีประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษมากที่สุดคือ ภาคเหนือ จำนวน 3 โรงเรียน รองลงมาคือ กรุงเทพมหานคร จำนวน 2 โรงเรียน และน้อยที่สุดคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคกลาง ภาคละ 1 โรงเรียน พร้อมทั้งเสนอแนวทางการปรับปรุงความไม่มีประสิทธิภาพโดยการลดปัจจัยป้อนและเพิ่มปัจจัยผลผลิต
ผลการวิจัยพบว่า 1) ตัวแปรคัดสรรที่ใช้ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษา ได้แก่ ด้านปัจจัยป้อน ประกอบตัวแปร 9 ตัวแปร ปัจจัยกระบวนการ ประกอบด้วย 5 ตัวแปร และปัจจัยผลผลิต ประกอบด้วย 4 ตัวแปร 2) การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษาจากปัจจัยป้อน  ปัจจัยกระบวนการ และปัจจัยผลผลิต ในภาพรวมทั้งประเทศจำนวนทั้งสิ้น 80 โรงเรียน พบว่า โรงเรียนสองภาษาส่วนใหญ่มีคะแนนประสิทธิภาพเท่ากับ 60.00-69.99% มีโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษ จำนวน 8 โรงเรียน (ร้อยละ 10.00) และโรงเรียนที่ไม่มีประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษ จำนวน 72 โรงเรียน (ร้อยละ90.00) ภาคที่มีจำนวนโรงเรียนสองภาษาที่มีประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษมากที่สุดคือ ภาคเหนือ จำนวน 3 โรงเรียน รองลงมาคือ กรุงเทพมหานคร จำนวน 2 โรงเรียน และน้อยที่สุดคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคกลาง ภาคละ 1 โรงเรียน พร้อมทั้งเสนอแนวทางการปรับปรุงความไม่มีประสิทธิภาพโดยการลดปัจจัยป้อนและเพิ่มปัจจัยผลผลิต
 +
 +
โดย นางสาวจุฑามาศ แสงงาม
 +
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก รศ.ดร.อวยพร เรืองตระกูล

รุ่นปัจจุบันของ 16:22, 1 กรกฎาคม 2556

== การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษาจากตัวแปรคัดสรร: การวิเคราะห์ล้อมกรอบข้อมูล AN EFFICIENCY ANALYSIS OF THE ENGLISH PROGRAM IN BILINGUAL SCHOOLS FROM SELECTED VARIABLES: DATA ENVELOPMENT ANALYSIS

==

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์ตัวแปรคัดสรรของปัจจัยป้อน ปัจจัยกระบวนการ และปัจจัยผลผลิตที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษา 2) เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษา ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ โรงเรียนสองภาษาที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ จำนวน 80 โรงเรียน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสัมภาษณ์ และข้อมูลจากแบบบันทึกรายการและแบบสอบถาม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติพื้นฐานและวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้วยเทคนิคการล้อมกรอบข้อมูลโดยโปรแกรม DEAP 2.1 ผลการวิจัยพบว่า 1) ตัวแปรคัดสรรที่ใช้ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษา ได้แก่ ด้านปัจจัยป้อน ประกอบตัวแปร 9 ตัวแปร ปัจจัยกระบวนการ ประกอบด้วย 5 ตัวแปร และปัจจัยผลผลิต ประกอบด้วย 4 ตัวแปร 2) การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษของโรงเรียนสองภาษาจากปัจจัยป้อน ปัจจัยกระบวนการ และปัจจัยผลผลิต ในภาพรวมทั้งประเทศจำนวนทั้งสิ้น 80 โรงเรียน พบว่า โรงเรียนสองภาษาส่วนใหญ่มีคะแนนประสิทธิภาพเท่ากับ 60.00-69.99% มีโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษ จำนวน 8 โรงเรียน (ร้อยละ 10.00) และโรงเรียนที่ไม่มีประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษ จำนวน 72 โรงเรียน (ร้อยละ90.00) ภาคที่มีจำนวนโรงเรียนสองภาษาที่มีประสิทธิภาพของหลักสูตรภาษาอังกฤษมากที่สุดคือ ภาคเหนือ จำนวน 3 โรงเรียน รองลงมาคือ กรุงเทพมหานคร จำนวน 2 โรงเรียน และน้อยที่สุดคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคกลาง ภาคละ 1 โรงเรียน พร้อมทั้งเสนอแนวทางการปรับปรุงความไม่มีประสิทธิภาพโดยการลดปัจจัยป้อนและเพิ่มปัจจัยผลผลิต

โดย นางสาวจุฑามาศ แสงงาม อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก รศ.ดร.อวยพร เรืองตระกูล

เครื่องมือส่วนตัว