การศึกษาลักษณะและพัฒนาการพื้นที่ริมน้ำคลองบางลำภู

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''การศึกษาลักษณะและพัฒนาการพื้นที่ริมน้ำคลองบาง…')
 
(การแก้ไขหนึ่งรุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล)
แถว 3: แถว 3:
-
คลองบางลำภูเป็นส่วนหนึ่งของคลองรอบกรุง ซึ่งมีความสำคัญในฐานะคลองสายประวัติศาสตร์ของกรุงรัตนโกสินทร์ โดยถูกขุดขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียงกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานโดยกรมศิลปากร จากเดิมที่ลำคลองเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตของผู้อยู่อาศัยริมคลองและเป็นทางสัญจรหลักของชาวรัตนโกสินทร์มาตั้งแต่ครั้งสถาปนากรุงฯ ในเวลาต่อมาการสัญจรหลักได้เปลี่ยนจากการสัญจรทางน้ำไปเป็นการสัญจรทางบกทำให้เครือข่ายการสัญจรทางน้ำเดิมลดลงเพราะถูกถมไปทำถนน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อพัฒนาการพื้นที่ริมน้ำคลองรอบกรุงเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามตามความเข้าใจเดิมที่ว่า พื้นที่ริมน้ำเดิมคือพื้นที่ส่วนตัวของแต่ละพื้นที่ สภาพปัจจุบันของพื้นที่ริมน้ำคลองรอบกรุงในส่วนคลองบางลำภูมีความหลากหลายในแต่ละพื้นที่ แต่กลับไม่สามารถชี้ชัดได้ว่ามีพัฒนาการเพื่อความเป็นพื้นที่ริมน้ำอเนกประสงค์ในรูปแบบที่สัมพันธ์กันอย่างกลมกลืนกับลำคลองดังที่เห็นได้ในกรณีประเทศที่พัฒนาแล้ว
+
คลองบางลำภูเป็นส่วนหนึ่งของคลองรอบกรุง ซึ่งมีความสำคัญในฐานะคลองสายประวัติศาสตร์ของกรุงรัตนโกสินทร์ โดยถูกขุดขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียงกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานโดยกรมศิลปากร จากเดิมที่ลำคลองเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตของผู้อยู่อาศัยริมคลองและเป็นทางสัญจรหลักของชาวรัตนโกสินทร์มาตั้งแต่ครั้งสถาปนากรุงฯ ในเวลาต่อมาการสัญจรหลักได้เปลี่ยนจากการสัญจรทางน้ำไปเป็นการสัญจรทางบกทำให้เครือข่ายการสัญจรทางน้ำเดิมลดลงเพราะถูกถมไปทำถนน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อพัฒนาการพื้นที่ริมน้ำคลองรอบกรุงเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามตามความเข้าใจเดิมที่ว่า พื้นที่ริมน้ำเดิมคือพื้นที่ส่วนตัวของแต่ละพื้นที่ สภาพปัจจุบันของพื้นที่ริมน้ำคลองรอบกรุงในส่วนคลองบางลำภูมีความหลากหลายในแต่ละพื้นที่ แต่กลับไม่สามารถชี้ชัดได้ว่ามีพัฒนาการเพื่อความเป็นพื้นที่ริมน้ำอเนกประสงค์ในรูปแบบที่สัมพันธ์กันอย่างกลมกลืนกับลำคลองดังที่เห็นได้ในกรณีประเทศที่พัฒนาแล้ว
-
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะความจำเพาะของพื้นที่ริมน้ำบริเวณคลองบางลำภูตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยการจำแนกรูปแบบความสัมพันธ์ของพัฒนาการพื้นที่ริมน้ำโดยใช้การอ้างอิงลักษณะพื้นที่ในอดีตจากแผนที่เก่าและรูปถ่ายเก่าเพื่อสร้างรูปตัดของพื้นที่ริมน้ำบริเวณคลองบางลำภูในอดีตและใช้ข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลทางกายภาพและแผนที่เพื่อสร้างรูปตัดของพื้นที่ริมน้ำในปัจจุบัน จากนั้นจำแนกรูปตัดออกเป็นรูปแบบต่างๆ และนำไปหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปตัดปัจจุบันกับรูปตัดในอดีต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของสัณฐานพื้นที่ริมน้ำบริเวณคลองบางลำภู
+
 
-
จากการศึกษาพบว่าพื้นที่ริมน้ำในอดีตมีทั้งหมด 5 รูปแบบ และพื้นที่ริมน้ำในปัจจุบันมีทั้งหมด 12 รูปแบบ และสามารถแบ่งช่วงเวลาพัฒนาการของพื้นที่ริมน้ำได้เป็น 3 ช่วง กล่าวคือช่วงที่ 1 ช่วงที่เป็นตลิ่งดินก่อนผู้ที่อยู่อาศัยในชุมชนจะทำการก่อสร้างตลิ่งถาวร ช่วงที่ 2 ช่วงหลังจากมีการก่อสร้างตลิ่งถาวรโดยผู้ที่อยู่อาศัยในชุมชน และช่วงที่ 3ช่วงหลังจากมีการสร้างเขื่อนโดยหน่วยงานของราชการ ทั้งนี้กล่าวได้ว่า พื้นที่ริมน้ำที่เกิดขึ้นในปัจุบัน เป็นไปเพื่อการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคเพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้มีพัฒนาการด้วยการวางแผนเพื่อใช้งานในลักษณะพื้นที่ริมน้ำสาธารณะอเนกประสงค์
+
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะความจำเพาะของพื้นที่ริมน้ำบริเวณคลองบางลำภูตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยการจำแนกรูปแบบความสัมพันธ์ของพัฒนาการพื้นที่ริมน้ำโดยใช้การอ้างอิงลักษณะพื้นที่ในอดีตจากแผนที่เก่าและรูปถ่ายเก่าเพื่อสร้างรูปตัดของพื้นที่ริมน้ำบริเวณคลองบางลำภูในอดีตและใช้ข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลทางกายภาพและแผนที่เพื่อสร้างรูปตัดของพื้นที่ริมน้ำในปัจจุบัน จากนั้นจำแนกรูปตัดออกเป็นรูปแบบต่างๆ และนำไปหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปตัดปัจจุบันกับรูปตัดในอดีต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของสัณฐานพื้นที่ริมน้ำบริเวณคลองบางลำภู
 +
 
 +
จากการศึกษาพบว่าพื้นที่ริมน้ำในอดีตมีทั้งหมด 5 รูปแบบ และพื้นที่ริมน้ำในปัจจุบันมีทั้งหมด 12 รูปแบบ และสามารถแบ่งช่วงเวลาพัฒนาการของพื้นที่ริมน้ำได้เป็น 3 ช่วง กล่าวคือช่วงที่ 1 ช่วงที่เป็นตลิ่งดินก่อนผู้ที่อยู่อาศัยในชุมชนจะทำการก่อสร้างตลิ่งถาวร ช่วงที่ 2 ช่วงหลังจากมีการก่อสร้างตลิ่งถาวรโดยผู้ที่อยู่อาศัยในชุมชน และช่วงที่ 3ช่วงหลังจากมีการสร้างเขื่อนโดยหน่วยงานของราชการ ทั้งนี้กล่าวได้ว่า พื้นที่ริมน้ำที่เกิดขึ้นในปัจุบัน เป็นไปเพื่อการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคเพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้มีพัฒนาการด้วยการวางแผนเพื่อใช้งานในลักษณะพื้นที่ริมน้ำสาธารณะอเนกประสงค์
จัดทำโดย นางสาว ศันสนีย์ ชูโชติถาวร
จัดทำโดย นางสาว ศันสนีย์ ชูโชติถาวร
 +
หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์และทฤษฎีสถาปัตยกรรม
หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์และทฤษฎีสถาปัตยกรรม
 +
ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 +
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร
อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร

รุ่นปัจจุบันของ 03:44, 30 กรกฎาคม 2556

การศึกษาลักษณะและพัฒนาการพื้นที่ริมน้ำคลองบางลำภู


คลองบางลำภูเป็นส่วนหนึ่งของคลองรอบกรุง ซึ่งมีความสำคัญในฐานะคลองสายประวัติศาสตร์ของกรุงรัตนโกสินทร์ โดยถูกขุดขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียงกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานโดยกรมศิลปากร จากเดิมที่ลำคลองเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตของผู้อยู่อาศัยริมคลองและเป็นทางสัญจรหลักของชาวรัตนโกสินทร์มาตั้งแต่ครั้งสถาปนากรุงฯ ในเวลาต่อมาการสัญจรหลักได้เปลี่ยนจากการสัญจรทางน้ำไปเป็นการสัญจรทางบกทำให้เครือข่ายการสัญจรทางน้ำเดิมลดลงเพราะถูกถมไปทำถนน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อพัฒนาการพื้นที่ริมน้ำคลองรอบกรุงเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามตามความเข้าใจเดิมที่ว่า พื้นที่ริมน้ำเดิมคือพื้นที่ส่วนตัวของแต่ละพื้นที่ สภาพปัจจุบันของพื้นที่ริมน้ำคลองรอบกรุงในส่วนคลองบางลำภูมีความหลากหลายในแต่ละพื้นที่ แต่กลับไม่สามารถชี้ชัดได้ว่ามีพัฒนาการเพื่อความเป็นพื้นที่ริมน้ำอเนกประสงค์ในรูปแบบที่สัมพันธ์กันอย่างกลมกลืนกับลำคลองดังที่เห็นได้ในกรณีประเทศที่พัฒนาแล้ว

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะความจำเพาะของพื้นที่ริมน้ำบริเวณคลองบางลำภูตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยการจำแนกรูปแบบความสัมพันธ์ของพัฒนาการพื้นที่ริมน้ำโดยใช้การอ้างอิงลักษณะพื้นที่ในอดีตจากแผนที่เก่าและรูปถ่ายเก่าเพื่อสร้างรูปตัดของพื้นที่ริมน้ำบริเวณคลองบางลำภูในอดีตและใช้ข้อมูลจากการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลทางกายภาพและแผนที่เพื่อสร้างรูปตัดของพื้นที่ริมน้ำในปัจจุบัน จากนั้นจำแนกรูปตัดออกเป็นรูปแบบต่างๆ และนำไปหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปตัดปัจจุบันกับรูปตัดในอดีต เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของสัณฐานพื้นที่ริมน้ำบริเวณคลองบางลำภู

จากการศึกษาพบว่าพื้นที่ริมน้ำในอดีตมีทั้งหมด 5 รูปแบบ และพื้นที่ริมน้ำในปัจจุบันมีทั้งหมด 12 รูปแบบ และสามารถแบ่งช่วงเวลาพัฒนาการของพื้นที่ริมน้ำได้เป็น 3 ช่วง กล่าวคือช่วงที่ 1 ช่วงที่เป็นตลิ่งดินก่อนผู้ที่อยู่อาศัยในชุมชนจะทำการก่อสร้างตลิ่งถาวร ช่วงที่ 2 ช่วงหลังจากมีการก่อสร้างตลิ่งถาวรโดยผู้ที่อยู่อาศัยในชุมชน และช่วงที่ 3ช่วงหลังจากมีการสร้างเขื่อนโดยหน่วยงานของราชการ ทั้งนี้กล่าวได้ว่า พื้นที่ริมน้ำที่เกิดขึ้นในปัจุบัน เป็นไปเพื่อการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคเพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้มีพัฒนาการด้วยการวางแผนเพื่อใช้งานในลักษณะพื้นที่ริมน้ำสาธารณะอเนกประสงค์


จัดทำโดย นางสาว ศันสนีย์ ชูโชติถาวร

หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์และทฤษฎีสถาปัตยกรรม

ภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร

เครื่องมือส่วนตัว