ผู้สูงอายุในชุมชนแออัด

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
 
(การแก้ไขหนึ่งรุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล)
แถว 5: แถว 5:
==อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.เนาวรัตน์ กาญจนาคาร==
==อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.เนาวรัตน์ กาญจนาคาร==
-
    ปัจจุบันจำนวนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทั่วโลก  ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะในทวีปเอเชียคิดเป็น 67%  ตามข้อมูลของสหประชาชาติพบว่า ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงเป็น "สังคมผู้สูงอายุ" ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 การสำรวจสุขภาพแห่งชาติรายงานว่าเกือบครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุต้องเผชิญหน้ากับโรคเรื้อรังและ เมื่อมองไปถึงผู้ด้อยโอกาสในสังคม ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดคือประชากรกลุ่มหนึ่งที่จะประสพปัญหาในหลายด้านทั้งสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและการเข้าถึงบริการต่างๆ ดังนั้นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดจึงกลายเป็นกลุ่มคนที่สำคัญที่ควรคำนึงถึงในเรื่องของการสาธารณสุขเพื่อให้ผู้สูงอายุมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และจิตสังคม  
+
ปัจจุบันจำนวนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทั่วโลก  ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะในทวีปเอเชียคิดเป็น 67%  ตามข้อมูลของสหประชาชาติพบว่า ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงเป็น "สังคมผู้สูงอายุ" ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 การสำรวจสุขภาพแห่งชาติรายงานว่าเกือบครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุต้องเผชิญหน้ากับโรคเรื้อรังและ เมื่อมองไปถึงผู้ด้อยโอกาสในสังคม ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดคือประชากรกลุ่มหนึ่งที่จะประสพปัญหาในหลายด้านทั้งสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและการเข้าถึงบริการต่างๆ ดังนั้นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดจึงกลายเป็นกลุ่มคนที่สำคัญที่ควรคำนึงถึงในเรื่องของการสาธารณสุขเพื่อให้ผู้สูงอายุมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และจิตสังคม
 +
-
    การศึกษานี้มีขึ้นเพื่อศึกษาการรับรู้สุขภาวะและพฤติกรรมการแสวงหาการรักษาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร  ประเทศไทย  โดยใช้การเก็บข้อมูลแบบสัมภาษณ์จากแบบสอบถามกับกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนแออัดจำนวน  287  คน ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน  2556 ผลการศึกษาพบว่าประชากรที่ศึกษามีอายุระหว่าง  60 ถึง 99  ปี  โดย  2 ใน 3 เป็นเพศหญิง และผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา สามารถอ่านและเขียนภาษาไทยได้เล็กน้อย (43.6 %) ผู้สูงอายุมีรายได้ต่อเดือนโดยเฉลี่ยน้อยกว่า 2,500 บาท ไม่ได้ประกอบอาชีพ (77.9 %) โดยส่วนมากผู้สูงอายุจะอาศัยร่วมกับคู่สมรสและบุตรสาว ส่วนใหญ่บ้านที่พักอาศัยเป็นบ้านของตนเอง โดยห้องนอนจะอยู่บริเวณชั้นหนึ่งของบ้านและใช้ส้วมนั่งแบบราดน้ำ การรับรู้สุขภาวะของผู้สูงอายุอยู่ในเกณฑ์ดี  (52.9 %)  สุขภาวะพอใช้  (28.2 %)  และสุขภาวะไม่ดี (18.8 %) มีโรคประจำตัวที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ (78 %) ผู้สูงอายุใช้สิทธิการรักษาประกันสุขภาพถ้วนหน้า  (71.4%) ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่  ภาวะความดันโลหิตสูง (74.1%) โรคเบาหวาน( 40 %) และโรคไขมันในเลือดสูง (34.4 %)  ภาวะความเจ็บป่วยเล็กน้อยที่พบบ่อยได้แก่  ปวดศีรษะ (53.1 %)  ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ (19.8 %) และมีไข้ (10.3 %)  เมื่อมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ผู้สูงอายุจะเลือกยารับประทานเองเป็นส่วนใหญ่ และเมื่อเจ็บป่วยมากขึ้นหรือเป็นโรคเรื้อรังจะเข้ารับการรักษาที่สถานพยาบาลของรัฐบาลและเอกชนตามลำดับ  
+
การศึกษานี้มีขึ้นเพื่อศึกษาการรับรู้สุขภาวะและพฤติกรรมการแสวงหาการรักษาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร  ประเทศไทย  โดยใช้การเก็บข้อมูลแบบสัมภาษณ์จากแบบสอบถามกับกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนแออัดจำนวน  287  คน ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน  2556 ผลการศึกษาพบว่าประชากรที่ศึกษามีอายุระหว่าง  60 ถึง 99  ปี  โดย  2 ใน 3 เป็นเพศหญิง และผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา สามารถอ่านและเขียนภาษาไทยได้เล็กน้อย (43.6 %) ผู้สูงอายุมีรายได้ต่อเดือนโดยเฉลี่ยน้อยกว่า 2,500 บาท ไม่ได้ประกอบอาชีพ (77.9 %) โดยส่วนมากผู้สูงอายุจะอาศัยร่วมกับคู่สมรสและบุตรสาว ส่วนใหญ่บ้านที่พักอาศัยเป็นบ้านของตนเอง โดยห้องนอนจะอยู่บริเวณชั้นหนึ่งของบ้านและใช้ส้วมนั่งแบบราดน้ำ การรับรู้สุขภาวะของผู้สูงอายุอยู่ในเกณฑ์ดี  (52.9 %)  สุขภาวะพอใช้  (28.2 %)  และสุขภาวะไม่ดี (18.8 %) มีโรคประจำตัวที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ (78 %) ผู้สูงอายุใช้สิทธิการรักษาประกันสุขภาพถ้วนหน้า  (71.4%) ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่  ภาวะความดันโลหิตสูง (74.1%) โรคเบาหวาน( 40 %) และโรคไขมันในเลือดสูง (34.4 %)  ภาวะความเจ็บป่วยเล็กน้อยที่พบบ่อยได้แก่  ปวดศีรษะ (53.1 %)  ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ (19.8 %) และมีไข้ (10.3 %)  เมื่อมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ผู้สูงอายุจะเลือกยารับประทานเองเป็นส่วนใหญ่ และเมื่อเจ็บป่วยมากขึ้นหรือเป็นโรคเรื้อรังจะเข้ารับการรักษาที่สถานพยาบาลของรัฐบาลและเอกชนตามลำดับ  
-
    จากการศึกษาพบว่าผู้สูงอายุต้องเผชิญกับโรคเรื้อรังอยู่เป็นจำนวนมาก การให้ความรู้ในการดูแลตนเองตั้งแต่วัยผู้ใหญ่เป็นสิ่งที่สำคัญเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในอนาคต การตรวจสุขภาพประจำปี การเลือกรับประทานยาด้วยตัวเอง การให้คำแนะนำอาการสำคัญที่ควรรีบมาพบแพทย์ เช่น อาการปวดศีรษะหรืออาการเจ็บแน่นหน้าอกเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการวินิจฉัยอย่างทันท่วงที การอยู่กับโรคเรื้อรังอย่างมีความสุขและปลอดภัยยังคงเป็นสิ่งที่ท้าทายอย่างมากสำหรับการสาธารณสุขของไทย
 
-
[[ไฟล์:Slum.jpg]]
+
จากการศึกษาพบว่าผู้สูงอายุต้องเผชิญกับโรคเรื้อรังอยู่เป็นจำนวนมาก การให้ความรู้ในการดูแลตนเองตั้งแต่วัยผู้ใหญ่เป็นสิ่งที่สำคัญเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในอนาคต การตรวจสุขภาพประจำปี การเลือกรับประทานยาด้วยตัวเอง การให้คำแนะนำอาการสำคัญที่ควรรีบมาพบแพทย์ เช่น อาการปวดศีรษะหรืออาการเจ็บแน่นหน้าอกเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการวินิจฉัยอย่างทันท่วงที การอยู่กับโรคเรื้อรังอย่างมีความสุขและปลอดภัยยังคงเป็นสิ่งที่ท้าทายอย่างมากสำหรับการสาธารณสุขของไทย
 +
 
(==อ้างอิง==)
(==อ้างอิง==)
<references/>
<references/>
ลลิตา แสงเงิน,"การศึกษาสุขภาวะและการแสวงหาการรักษาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย,"(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต วิทยาลัยวิทยาศาสตร๋สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2556)
ลลิตา แสงเงิน,"การศึกษาสุขภาวะและการแสวงหาการรักษาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย,"(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต วิทยาลัยวิทยาศาสตร๋สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2556)

รุ่นปัจจุบันของ 12:07, 19 ธันวาคม 2556

น.ส.ลลิตา แสงเงิน:การแสวงหาการรักษาของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุนชนแออัดเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร

Health seeking behaviour of the elderly in the Donmuang slum community, Bangkok

อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.ดร.เนาวรัตน์ กาญจนาคาร

ปัจจุบันจำนวนของประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทั่วโลก ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะในทวีปเอเชียคิดเป็น 67% ตามข้อมูลของสหประชาชาติพบว่า ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงเป็น "สังคมผู้สูงอายุ" ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 การสำรวจสุขภาพแห่งชาติรายงานว่าเกือบครึ่งหนึ่งของผู้สูงอายุต้องเผชิญหน้ากับโรคเรื้อรังและ เมื่อมองไปถึงผู้ด้อยโอกาสในสังคม ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดคือประชากรกลุ่มหนึ่งที่จะประสพปัญหาในหลายด้านทั้งสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและการเข้าถึงบริการต่างๆ ดังนั้นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดจึงกลายเป็นกลุ่มคนที่สำคัญที่ควรคำนึงถึงในเรื่องของการสาธารณสุขเพื่อให้ผู้สูงอายุมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และจิตสังคม


การศึกษานี้มีขึ้นเพื่อศึกษาการรับรู้สุขภาวะและพฤติกรรมการแสวงหาการรักษาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย โดยใช้การเก็บข้อมูลแบบสัมภาษณ์จากแบบสอบถามกับกลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนแออัดจำนวน 287 คน ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2556 ผลการศึกษาพบว่าประชากรที่ศึกษามีอายุระหว่าง 60 ถึง 99 ปี โดย 2 ใน 3 เป็นเพศหญิง และผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา สามารถอ่านและเขียนภาษาไทยได้เล็กน้อย (43.6 %) ผู้สูงอายุมีรายได้ต่อเดือนโดยเฉลี่ยน้อยกว่า 2,500 บาท ไม่ได้ประกอบอาชีพ (77.9 %) โดยส่วนมากผู้สูงอายุจะอาศัยร่วมกับคู่สมรสและบุตรสาว ส่วนใหญ่บ้านที่พักอาศัยเป็นบ้านของตนเอง โดยห้องนอนจะอยู่บริเวณชั้นหนึ่งของบ้านและใช้ส้วมนั่งแบบราดน้ำ การรับรู้สุขภาวะของผู้สูงอายุอยู่ในเกณฑ์ดี (52.9 %) สุขภาวะพอใช้ (28.2 %) และสุขภาวะไม่ดี (18.8 %) มีโรคประจำตัวที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ (78 %) ผู้สูงอายุใช้สิทธิการรักษาประกันสุขภาพถ้วนหน้า (71.4%) ปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูง (74.1%) โรคเบาหวาน( 40 %) และโรคไขมันในเลือดสูง (34.4 %) ภาวะความเจ็บป่วยเล็กน้อยที่พบบ่อยได้แก่ ปวดศีรษะ (53.1 %) ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ (19.8 %) และมีไข้ (10.3 %) เมื่อมีอาการเจ็บป่วยเล็กน้อย ผู้สูงอายุจะเลือกยารับประทานเองเป็นส่วนใหญ่ และเมื่อเจ็บป่วยมากขึ้นหรือเป็นโรคเรื้อรังจะเข้ารับการรักษาที่สถานพยาบาลของรัฐบาลและเอกชนตามลำดับ


จากการศึกษาพบว่าผู้สูงอายุต้องเผชิญกับโรคเรื้อรังอยู่เป็นจำนวนมาก การให้ความรู้ในการดูแลตนเองตั้งแต่วัยผู้ใหญ่เป็นสิ่งที่สำคัญเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังในอนาคต การตรวจสุขภาพประจำปี การเลือกรับประทานยาด้วยตัวเอง การให้คำแนะนำอาการสำคัญที่ควรรีบมาพบแพทย์ เช่น อาการปวดศีรษะหรืออาการเจ็บแน่นหน้าอกเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการวินิจฉัยอย่างทันท่วงที การอยู่กับโรคเรื้อรังอย่างมีความสุขและปลอดภัยยังคงเป็นสิ่งที่ท้าทายอย่างมากสำหรับการสาธารณสุขของไทย


(==อ้างอิง==)

ลลิตา แสงเงิน,"การศึกษาสุขภาวะและการแสวงหาการรักษาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย,"(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต วิทยาลัยวิทยาศาสตร๋สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2556)

เครื่องมือส่วนตัว