โทนรำมะนา

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(วิธีการบรรเลงโทนรำมะนา)
(วิธีการบรรเลงโทนรำมะนา)
 
(การแก้ไข 6 รุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล)
แถว 1: แถว 1:
==ลักษณะทางกายภาพ==
==ลักษณะทางกายภาพ==
-
'''โทนรำมะนา''' เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี หุ้มด้วยหนัง ประกอบขึ้นจากเครื่องดนตรี 2 ชนิด คือ "โทน" มีส่วนประกอบที่สำคัญ 5 ส่วน ได้แก่ หุ่นหรือตัวกลอง หน้ากลอง ไส้ละมาน สายเร่งเสียง และ ห่วงคอ ในขณะที่ "รำมะนา" มีส่วนประกอบที่สำคัญ ได้แก่ หุ่นหรือตัวกลอง หน้ากลอง แส้ และสนับ กลองทั้งสองชนิดมีส่วนประกอบย่อยที่มีความสำคัญ คือ “ปากนกแก้ว” คือ ส่วนของขอบปากกลองด้านในที่ทำมุมลาดงุ้มลงไปในหุ่นกลองเพื่อไม่ให้กระทบกับแผ่นหนังเวลาตี และยังเป็นส่วนที่ใช้เป็นช่องสำหรับสอดสนับเพื่อหนุนหนังหน้ากลองรำมะนา บนหุ่นกลองอาจมีส่วนประดับตกแต่งด้วยลวดลายนูนบนตัวกลองเรียกว่า “ชุดลวดบัว” และ “ลูกแก้ว” วัสดุที่ใช้สร้างหุ่นโทนที่เป็นที่นิยมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้แก่ ดินเผา ไม้ ปูน และเซรามิกส์ ในขณะที่วัสดุที่ใช้สร้างหุ่นรำมะนานิยมทำจากไม้เป็นหลักทั้งไม้เนื้อแข็งและไม้เนื้ออ่อน หนังที่เป็นที่นิยมในอดีตจนถึงปัจจุบันได้แก่ หนังวัว หนังแพะ และหนังงู โดยเฉพาะหนังงูงวงช้างซึ่งมีความเชื่อว่าเป็นหนังที่ให้คุณภาพเสียงที่ดี และพบว่ากลองโทนในอดีตได้มีการนำเอาหวายมาผ่าและผูกโยงเป็นสายเร่งเสียงด้วย ซึ่งในปัจจุบันไม่พบวิธีการดังกล่าวอีก แต่ได้ใช้เชือกร่ม สายเอ็น และ “ไหมควั่นอย่างสายซอแทน” <ref>อุทิศ นาคสวัสดิ์. [ม.ป.ป.].  '''คู่มือแบบฝึกหัดโทนรำมะนา'''.  กรุงเทพ: พิทักษ์อักษร.  (เอกสารอัดสำเนา)</ref>
+
'''โทนรำมะนา''' เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี หุ้มด้วยหนัง ประกอบขึ้นจากเครื่องดนตรี 2 ชนิด คือ "โทน" มีส่วนประกอบที่สำคัญ ได้แก่ หุ่นหรือตัวกลอง หน้ากลอง ไส้ละมาน สายเร่งเสียง และ ห่วงคอ ในขณะที่ "รำมะนา" มีส่วนประกอบที่สำคัญ ได้แก่ หุ่นหรือตัวกลอง หน้ากลอง แส้ และสนับ กลองทั้งสองชนิดมีส่วนประกอบย่อยที่มีความสำคัญ คือ “ปากนกแก้ว” คือ ส่วนของขอบปากกลองด้านในที่ทำมุมลาดงุ้มลงไปในหุ่นกลองเพื่อไม่ให้กระทบกับแผ่นหนังเวลาตี และยังเป็นส่วนที่ใช้เป็นช่องสำหรับสอดสนับเพื่อหนุนหนังหน้ากลองรำมะนา บนหุ่นกลองอาจมีส่วนประดับตกแต่งด้วยลวดลายนูนบนตัวกลองเรียกว่า “ชุดลวดบัว” และ “ลูกแก้ว” วัสดุที่ใช้สร้างหุ่นโทนที่เป็นที่นิยมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้แก่ ดินเผา ไม้ ปูน และเซรามิกส์ ในขณะที่วัสดุที่ใช้สร้างหุ่นรำมะนานิยมทำจากไม้เป็นหลักทั้งไม้เนื้อแข็งและไม้เนื้ออ่อน หนังที่เป็นที่นิยมในอดีตจนถึงปัจจุบันได้แก่ หนังวัว หนังแพะ และหนังงู โดยเฉพาะหนังงูงวงช้างซึ่งมีความเชื่อว่าเป็นหนังที่ให้คุณภาพเสียงที่ดี และพบว่ากลองโทนในอดีตได้มีการนำเอาหวายมาผ่าและผูกโยงเป็นสายเร่งเสียงด้วย ซึ่งในปัจจุบันไม่พบวิธีการดังกล่าวอีก แต่ได้ใช้เชือกร่ม สายเอ็น และ “ไหมควั่นอย่างสายซอแทน” <ref>อุทิศ นาคสวัสดิ์.   [ม.ป.ป.].  '''คู่มือแบบฝึกหัดโทนรำมะนา'''.  กรุงเทพ: พิทักษ์อักษร.  (เอกสารอัดสำเนา)</ref>
==ประวัติและพัฒนาการของโทนรำมะนา==
==ประวัติและพัฒนาการของโทนรำมะนา==
-
ในอดีตโทนมีบทบาทในการละเล่นดอกสร้อยสักวาและวงดนตรีเครื่องสายของราษฎร รวมไปถึงวงมโหรีในราชสำนักมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยโทนถูกใช้บรรเลงในบทบาทหน้าที่ของเครื่องควบคุมจังหวะหน้าทับสำหรับวงมโหรีเป็นลำดับแรก “โดยยังไม่มีรำมะนาเข้ามาผสม” <ref>มนตรี ตราโมท.  2505.  เครื่องสายไทย.  '''หนังสือประชุมเพลงไทยเดิมของกรมศิลปากร'''. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพนายเปกข์ สุขวงศ์ ณ เมรุวัดธาตุทอง วันที่ 10 พฤษภาคม 2505, อ้างถึงใน ศิวศิษฎ์ นิลสุวรรณ.  การขึ้นหน้าโทน รำมะนา ด้วยหนังงูเหลือม.  '''วารสารศิลปกรรม''' 22. (กันยายน 2555) : 45-61.</ref> เมื่อได้มีการปรับปรุงนำเอารำมะนาเข้ามาร่วมบรรเลงในช่วงสมัยอยุธยาตอนปลายแล้ว ทำให้บทบาทของโทนที่เคยใช้บรรเลงเพียงใบเดียวในวงมโหรีเครื่องสี่เปลี่ยนไป และได้ใช้ยึดถือเอาโทนคู่กับรำมะนา เป็นเครื่องประกอบจังหวะหน้าทับสำหรับการบรรเลงในวงมโหรี และวงเครื่องสายเป็นการเฉพาะมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้แล้วโทนรำมะนายังถูกใช้เป็นเครื่องควบคุมจังหวะหน้าทับในการเดี่ยวเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องสายด้วย
+
ในอดีตโทนมีบทบาทในการละเล่นดอกสร้อยสักวาและวงดนตรีเครื่องสายของราษฎร รวมไปถึงวงมโหรีในราชสำนักมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยโทนถูกใช้บรรเลงในบทบาทหน้าที่ของเครื่องควบคุมจังหวะหน้าทับสำหรับวงมโหรีเครื่องสี่เป็นลำดับแรก “โดยยังไม่มีรำมะนาเข้ามาผสม” <ref>มนตรี ตราโมท.  2505.  เครื่องสายไทย.  '''หนังสือประชุมเพลงไทยเดิมของกรมศิลปากร'''. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพนายเปกข์ สุขวงศ์ ณ เมรุวัดธาตุทอง วันที่ 10 พฤษภาคม 2505. อ้างถึงใน ศิวศิษฎ์ นิลสุวรรณ.  การขึ้นหน้าโทน รำมะนา ด้วยหนังงูเหลือม.  '''วารสารศิลปกรรม''' 22 (กันยายน 2555) : 45-61.</ref> เมื่อได้มีการปรับปรุงนำเอารำมะนาเข้ามาร่วมบรรเลงในช่วงสมัยอยุธยาตอนปลายแล้ว ทำให้บทบาทของโทนที่เคยใช้บรรเลงเพียงใบเดียวในวงมโหรีเปลี่ยนไป และได้ใช้ยึดถือเอาโทนคู่กับรำมะนา เป็นเครื่องประกอบจังหวะหน้าทับสำหรับการบรรเลงในวงมโหรี และวงเครื่องสายเป็นการเฉพาะมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้แล้วโทนรำมะนายังถูกใช้เป็นเครื่องควบคุมจังหวะหน้าทับในการเดี่ยวเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องสายด้วย
==วิธีการบรรเลงโทนรำมะนา==
==วิธีการบรรเลงโทนรำมะนา==
-
วิธีการบรรเลงโทนและรำมะนาเป็นเสียงต่าง ๆ นั้น ใช้วิธีการตี มี 2 ชนิด คือ (1) วิธีการตีแบบแยกคน เป็นวิธีการบรรเลงแบบประเพณีนิยมที่เคยใช้ในราชสำนัก โดยใช้ผู้บรรเลง 2 คน ตีโทนและรำมะนาแยกจากกัน และ (2) การตีคนเดียว เป็นวิธีการแบบสมัยนิยมในปัจจุบัน โดยใช้ผู้บรรเลงเพียงคนเดียวตีทั้งโทนและรำมะนา การบรรเลงทั้ง 2 แบบนั้นสามารถบรรเลงได้ทั้งในท่านั่งขัดสมาธิ ท่านั่งพับเพียบ หรือแม้กระทั้งการนั่งห้อยเท้าบนตั่งหรือเก้าอี้ โดยจะต้องให้โทนอยู่ทางขวามือ และรำมะนาวางอยู่ทางซ้ายมือของผู้บรรเลงเสมอ โดยใช้ตำแหน่งต่าง ๆ บนนิ้วมือและฝ่ามือตีลงบนหน้ากลอง ให้สัมพันธ์กับคุณภาพเสียงของโทนรำมะนา เป็นเสียงต่าง ๆ ในปัจจุบันเสียงที่เป็นหลักในการบรรเลงสำหรับโทนรำมะนา มี 5 เสียง ได้แก่ “ติง” “จ๊ะ หรือ นะ” “จ๋ง” “ทั่ง หรือ ทั่ม” และ “ถะ” ส่วนเสียงที่เป็นกลวิธีพิเศษอื่น ๆ ที่เกิดจากการประคบมือ มี 5 เสียง ได้แก่เสียง “ตลิง” “ติด” “ตลิด” “กรอด” “เจ๊าะ” และ “ถาด” รวมเป็นเสียงประกอบของสำหรับการกำกับจังหวะหน้าทับโทนรำมะนาทั้งสิ้น 10 เสียง
+
วิธีการบรรเลงโทนและรำมะนาเป็นเสียงต่าง ๆ นั้น ใช้วิธีการตี มี 2 ชนิด คือ (1) วิธีการตีแบบแยกคน เป็นวิธีการบรรเลงแบบประเพณีนิยมที่เคยใช้ในราชสำนัก โดยใช้ผู้บรรเลง 2 คน ตีโทนและรำมะนาแยกจากกัน และ (2) การตีคนเดียว เป็นวิธีการแบบสมัยนิยมในปัจจุบัน โดยใช้ผู้บรรเลงเพียงคนเดียวตีทั้งโทนและรำมะนา การบรรเลงทั้ง 2 แบบนั้นสามารถบรรเลงได้ทั้งในท่านั่งขัดสมาธิ ท่านั่งพับเพียบ หรือแม้กระทั้งการนั่งห้อยเท้าบนตั่งหรือเก้าอี้ โดยจะต้องให้โทนวางอยู่ทางขวามือ และรำมะนาวางอยู่ทางซ้ายมือของผู้บรรเลงเสมอ โดยใช้ตำแหน่งต่าง ๆ บนนิ้วมือและฝ่ามือตีลงบนหน้ากลอง ให้สัมพันธ์กับคุณภาพเสียงของโทนรำมะนา เป็นเสียงต่าง ๆ ในปัจจุบันเสียงที่เป็นหลักในการบรรเลงสำหรับโทนรำมะนา มี 5 เสียง ได้แก่ “ติง” “จ๊ะ หรือ นะ” “จ๋ง” “ทั่ง หรือ ทั่ม” และ “ถะ” ส่วนเสียงที่เป็นกลวิธีพิเศษอื่น ๆ ที่เกิดจากการประคบมือ มี 5 เสียง ได้แก่เสียง “ตลิง” “ติด” “ตลิด” “กรอด” “เจ๊าะ” และ “ถาด” รวมเป็นเสียงประกอบของสำหรับการกำกับจังหวะหน้าทับโทนรำมะนาทั้งสิ้น 10 เสียง
-
 
+
-
[http://www.youtube.com/watch?v=WzMgndTiBQs วีดีทัศน์สาธิตวิธีการบรรเลงโทนรำมะนา] <ref>ภูมิใจ รื่นเริง. [ThaiMusic]. 10 มีนาคม 2556. '''เสียงโทนรำมะนาหนังงู''' [ไฟล์วีดิทัศน์]. แหล่งที่มา: http://www.youtube.com/watch?v=WzMgndTiBQs</ref>
+
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
<references/>
<references/>

รุ่นปัจจุบันของ 11:24, 20 สิงหาคม 2557

เนื้อหา

ลักษณะทางกายภาพ

โทนรำมะนา เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี หุ้มด้วยหนัง ประกอบขึ้นจากเครื่องดนตรี 2 ชนิด คือ "โทน" มีส่วนประกอบที่สำคัญ ได้แก่ หุ่นหรือตัวกลอง หน้ากลอง ไส้ละมาน สายเร่งเสียง และ ห่วงคอ ในขณะที่ "รำมะนา" มีส่วนประกอบที่สำคัญ ได้แก่ หุ่นหรือตัวกลอง หน้ากลอง แส้ และสนับ กลองทั้งสองชนิดมีส่วนประกอบย่อยที่มีความสำคัญ คือ “ปากนกแก้ว” คือ ส่วนของขอบปากกลองด้านในที่ทำมุมลาดงุ้มลงไปในหุ่นกลองเพื่อไม่ให้กระทบกับแผ่นหนังเวลาตี และยังเป็นส่วนที่ใช้เป็นช่องสำหรับสอดสนับเพื่อหนุนหนังหน้ากลองรำมะนา บนหุ่นกลองอาจมีส่วนประดับตกแต่งด้วยลวดลายนูนบนตัวกลองเรียกว่า “ชุดลวดบัว” และ “ลูกแก้ว” วัสดุที่ใช้สร้างหุ่นโทนที่เป็นที่นิยมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้แก่ ดินเผา ไม้ ปูน และเซรามิกส์ ในขณะที่วัสดุที่ใช้สร้างหุ่นรำมะนานิยมทำจากไม้เป็นหลักทั้งไม้เนื้อแข็งและไม้เนื้ออ่อน หนังที่เป็นที่นิยมในอดีตจนถึงปัจจุบันได้แก่ หนังวัว หนังแพะ และหนังงู โดยเฉพาะหนังงูงวงช้างซึ่งมีความเชื่อว่าเป็นหนังที่ให้คุณภาพเสียงที่ดี และพบว่ากลองโทนในอดีตได้มีการนำเอาหวายมาผ่าและผูกโยงเป็นสายเร่งเสียงด้วย ซึ่งในปัจจุบันไม่พบวิธีการดังกล่าวอีก แต่ได้ใช้เชือกร่ม สายเอ็น และ “ไหมควั่นอย่างสายซอแทน” [1]

ประวัติและพัฒนาการของโทนรำมะนา

ในอดีตโทนมีบทบาทในการละเล่นดอกสร้อยสักวาและวงดนตรีเครื่องสายของราษฎร รวมไปถึงวงมโหรีในราชสำนักมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยโทนถูกใช้บรรเลงในบทบาทหน้าที่ของเครื่องควบคุมจังหวะหน้าทับสำหรับวงมโหรีเครื่องสี่เป็นลำดับแรก “โดยยังไม่มีรำมะนาเข้ามาผสม” [2] เมื่อได้มีการปรับปรุงนำเอารำมะนาเข้ามาร่วมบรรเลงในช่วงสมัยอยุธยาตอนปลายแล้ว ทำให้บทบาทของโทนที่เคยใช้บรรเลงเพียงใบเดียวในวงมโหรีเปลี่ยนไป และได้ใช้ยึดถือเอาโทนคู่กับรำมะนา เป็นเครื่องประกอบจังหวะหน้าทับสำหรับการบรรเลงในวงมโหรี และวงเครื่องสายเป็นการเฉพาะมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้แล้วโทนรำมะนายังถูกใช้เป็นเครื่องควบคุมจังหวะหน้าทับในการเดี่ยวเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องสายด้วย

วิธีการบรรเลงโทนรำมะนา

วิธีการบรรเลงโทนและรำมะนาเป็นเสียงต่าง ๆ นั้น ใช้วิธีการตี มี 2 ชนิด คือ (1) วิธีการตีแบบแยกคน เป็นวิธีการบรรเลงแบบประเพณีนิยมที่เคยใช้ในราชสำนัก โดยใช้ผู้บรรเลง 2 คน ตีโทนและรำมะนาแยกจากกัน และ (2) การตีคนเดียว เป็นวิธีการแบบสมัยนิยมในปัจจุบัน โดยใช้ผู้บรรเลงเพียงคนเดียวตีทั้งโทนและรำมะนา การบรรเลงทั้ง 2 แบบนั้นสามารถบรรเลงได้ทั้งในท่านั่งขัดสมาธิ ท่านั่งพับเพียบ หรือแม้กระทั้งการนั่งห้อยเท้าบนตั่งหรือเก้าอี้ โดยจะต้องให้โทนวางอยู่ทางขวามือ และรำมะนาวางอยู่ทางซ้ายมือของผู้บรรเลงเสมอ โดยใช้ตำแหน่งต่าง ๆ บนนิ้วมือและฝ่ามือตีลงบนหน้ากลอง ให้สัมพันธ์กับคุณภาพเสียงของโทนรำมะนา เป็นเสียงต่าง ๆ ในปัจจุบันเสียงที่เป็นหลักในการบรรเลงสำหรับโทนรำมะนา มี 5 เสียง ได้แก่ “ติง” “จ๊ะ หรือ นะ” “จ๋ง” “ทั่ง หรือ ทั่ม” และ “ถะ” ส่วนเสียงที่เป็นกลวิธีพิเศษอื่น ๆ ที่เกิดจากการประคบมือ มี 5 เสียง ได้แก่เสียง “ตลิง” “ติด” “ตลิด” “กรอด” “เจ๊าะ” และ “ถาด” รวมเป็นเสียงประกอบของสำหรับการกำกับจังหวะหน้าทับโทนรำมะนาทั้งสิ้น 10 เสียง

อ้างอิง

  1. อุทิศ นาคสวัสดิ์. [ม.ป.ป.]. คู่มือแบบฝึกหัดโทนรำมะนา. กรุงเทพ: พิทักษ์อักษร. (เอกสารอัดสำเนา)
  2. มนตรี ตราโมท. 2505. เครื่องสายไทย. หนังสือประชุมเพลงไทยเดิมของกรมศิลปากร. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพนายเปกข์ สุขวงศ์ ณ เมรุวัดธาตุทอง วันที่ 10 พฤษภาคม 2505. อ้างถึงใน ศิวศิษฎ์ นิลสุวรรณ. การขึ้นหน้าโทน รำมะนา ด้วยหนังงูเหลือม. วารสารศิลปกรรม 22 (กันยายน 2555) : 45-61.
เครื่องมือส่วนตัว