แพะ

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
แถว 1: แถว 1:
การเลี้ยงแพะในประเทศไทยเริ่มเกิดขึ้นเมื่อใดไม่เป็นที่แน่ชัด วัตถุประสงค์หลักสำหรับการเลี้ยงแพะในประเทศไทยที่สำคัญคือ นมแพะสำหรับดื่ม และ เนื้อแพะสำหรับใช้เป็นอาหาร แม้ว่าการบริโภคเนื้อแพะหรือนมแพะจะจำกัดอยู่ในระดับหนึ่ง แต่แพะเป็นสัตว์ที่มีความทนทานต่อสภาวะ HEnTH สูงกว่าโคนม (Rhoads et al., 2009; Hamzaoui et al., 2013) และจากแนวโน้มการเลี้ยงแพะพันธุ์ผสมในประเทศไทยที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น การเลี้ยงแพะจึงน่าจะเป็นทางเลือกของสัตว์ที่ให้ทั้งเนื้อ และนมสำหรับประเทศไทย  
การเลี้ยงแพะในประเทศไทยเริ่มเกิดขึ้นเมื่อใดไม่เป็นที่แน่ชัด วัตถุประสงค์หลักสำหรับการเลี้ยงแพะในประเทศไทยที่สำคัญคือ นมแพะสำหรับดื่ม และ เนื้อแพะสำหรับใช้เป็นอาหาร แม้ว่าการบริโภคเนื้อแพะหรือนมแพะจะจำกัดอยู่ในระดับหนึ่ง แต่แพะเป็นสัตว์ที่มีความทนทานต่อสภาวะ HEnTH สูงกว่าโคนม (Rhoads et al., 2009; Hamzaoui et al., 2013) และจากแนวโน้มการเลี้ยงแพะพันธุ์ผสมในประเทศไทยที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น การเลี้ยงแพะจึงน่าจะเป็นทางเลือกของสัตว์ที่ให้ทั้งเนื้อ และนมสำหรับประเทศไทย  
-
[[ผลของการให้อาหาร]]
+
[[ผลของการให้อาหารที่มีค่าความต่าง]]
ผลของการให้อาหารที่มีค่าความต่างของไออนบวกและไออนลบที่สูงในแพะนมที่เลี้ยงภายใต้สภาวะร้อนชื้น
ผลของการให้อาหารที่มีค่าความต่างของไออนบวกและไออนลบที่สูงในแพะนมที่เลี้ยงภายใต้สภาวะร้อนชื้น

การปรับปรุง เมื่อ 04:11, 15 พฤศจิกายน 2560

การเลี้ยงแพะในประเทศไทยเริ่มเกิดขึ้นเมื่อใดไม่เป็นที่แน่ชัด วัตถุประสงค์หลักสำหรับการเลี้ยงแพะในประเทศไทยที่สำคัญคือ นมแพะสำหรับดื่ม และ เนื้อแพะสำหรับใช้เป็นอาหาร แม้ว่าการบริโภคเนื้อแพะหรือนมแพะจะจำกัดอยู่ในระดับหนึ่ง แต่แพะเป็นสัตว์ที่มีความทนทานต่อสภาวะ HEnTH สูงกว่าโคนม (Rhoads et al., 2009; Hamzaoui et al., 2013) และจากแนวโน้มการเลี้ยงแพะพันธุ์ผสมในประเทศไทยที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น การเลี้ยงแพะจึงน่าจะเป็นทางเลือกของสัตว์ที่ให้ทั้งเนื้อ และนมสำหรับประเทศไทย

ผลของการให้อาหารที่มีค่าความต่าง


ผลของการให้อาหารที่มีค่าความต่างของไออนบวกและไออนลบที่สูงในแพะนมที่เลี้ยงภายใต้สภาวะร้อนชื้น

เครื่องมือส่วนตัว