เซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสง
จาก ChulaPedia
(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
แถว 1: | แถว 1: | ||
- | '''เซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสง (Dye-sensitized solar cells (DSSCs))''' เป็นเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดใหม่ที่คิดค้นโดย [http://en.wikipedia.org/wiki/Michael_Gr%C3%A4tzel Prof. Michael Grätzel] นักวิจัยสวิตเซอร์แลนด์ ดังนั้นเซลล์แสงอาทิตย์ประเภทนี้จึงถูกเรียกว่าเซลล์กราทเซล (Grätzel cells) เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดนี้ต่างไปจากเซลล์แสงอาทิตย์ที่ผลิตจากแผ่นซิลิกอนคือ เซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสงใช้สีย้อมไวแสงเป็นตัวรับพลังงานจากแสงอาทิตย์ไปกระตุ้นอิเล็กตรอนให้กระโดดจากสถานะพื้น (ground state) ไปยังสถานะกระตุ้น (excited state) จากนั้นอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปยังอนุภาคไทเทเนียมไดออกไซด์ (TiO<sub>2</sub>) ที่เคลือบอยู่บนขั้วไฟฟ้าโปร่งแสงทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น | + | '''เซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสง (Dye-sensitized solar cells (DSSCs))''' เป็นเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดใหม่ที่คิดค้นโดย [http://en.wikipedia.org/wiki/Michael_Gr%C3%A4tzel Prof. Michael Grätzel] นักวิจัยสวิตเซอร์แลนด์ ดังนั้นเซลล์แสงอาทิตย์ประเภทนี้จึงถูกเรียกว่าเซลล์กราทเซล (Grätzel cells) เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดนี้ต่างไปจากเซลล์แสงอาทิตย์ที่ผลิตจากแผ่นซิลิกอนคือ เซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสงใช้สีย้อมไวแสงเป็นตัวรับพลังงานจากแสงอาทิตย์ไปกระตุ้นอิเล็กตรอนให้กระโดดจากสถานะพื้น (ground state) ไปยังสถานะกระตุ้น (excited state) จากนั้นอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปยังอนุภาคไทเทเนียมไดออกไซด์ (TiO<sub>2</sub>) ที่เคลือบอยู่บนขั้วไฟฟ้าโปร่งแสงทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น แนวความคิดนี้เกิดจากการเลียนแบบการสังเคราะห์แสงของพืชที่พืชจะใช้คลอโรฟิลล์ ([http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%9F%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B9%8C chlorophill]) |
การปรับปรุง เมื่อ 07:29, 18 สิงหาคม 2553
เซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสง (Dye-sensitized solar cells (DSSCs)) เป็นเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดใหม่ที่คิดค้นโดย Prof. Michael Grätzel นักวิจัยสวิตเซอร์แลนด์ ดังนั้นเซลล์แสงอาทิตย์ประเภทนี้จึงถูกเรียกว่าเซลล์กราทเซล (Grätzel cells) เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดนี้ต่างไปจากเซลล์แสงอาทิตย์ที่ผลิตจากแผ่นซิลิกอนคือ เซลล์แสงอาทิตย์สีย้อมไวแสงใช้สีย้อมไวแสงเป็นตัวรับพลังงานจากแสงอาทิตย์ไปกระตุ้นอิเล็กตรอนให้กระโดดจากสถานะพื้น (ground state) ไปยังสถานะกระตุ้น (excited state) จากนั้นอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไปยังอนุภาคไทเทเนียมไดออกไซด์ (TiO2) ที่เคลือบอยู่บนขั้วไฟฟ้าโปร่งแสงทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น แนวความคิดนี้เกิดจากการเลียนแบบการสังเคราะห์แสงของพืชที่พืชจะใช้คลอโรฟิลล์ (chlorophill)