ผึ้ง (honeybee)

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'ผึ้งเป็นแมลงสังคมชั้นสูง สามารถต่อยได้เนื่องจา…')
(ผึ้ง ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น ผึ้ง (honeybee))
 
(การแก้ไข 11 รุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล)
แถว 1: แถว 1:
-
ผึ้งเป็นแมลงสังคมชั้นสูง สามารถต่อยได้เนื่องจากมีเหล็กในแลต่อมพิษ
+
[[ไฟล์:bee.jpg]]
 +
 
 +
 
 +
ผึ้งเป็นแมลงที่มีการดำรงชีวิตเป็นสังคม ภายในรังประกอบด้วยผึ้ง 3 วรรณะ ได้แก่ ผึ้งนางพญา ผึ้งงาน และผึ้งตัวผู้ โดยผึ้งนางพญาและผึ้งงานสามารถต่อยได้เนื่องจากมีเหล็กในซึ่งพัฒนามาจากอวัยวะวางไข่ที่พบในแมลงทั่วไป ส่วนผึ้งตัวผู้จะไม่สามารถต่อยได้  ตามปกติภายในรังจะพบผึ้งนางพญาเพียงตัวเดียว ผึ้งงานมีจำนวนนับพันหรือหมื่นตัวขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของรัง ในขณะที่ผึ้งตัวผู้จะไม่พบในรังตลอดเวลาและมีจำนวนนับร้อยตัว ไม่มากเหมือนกับผึ้งงาน  ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านกีฏวิทยา: ชีววิทยาของผึ้ง ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงและไร  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำการศึกษาวิจัยชีววิทยาด้านต่าง ๆ ของผึ้งมาเป็นเวลานับยี่สิบปีมาแล้ว
 +
 
 +
 
 +
== ผึ้งนางพญา ==
 +
เป็นผึ้งเพศเมีย เกิดจากไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิกับเชื้ออสุจิ มีจำนวนโครโมโซม 2n เป็นผึ้งตัวเดียวภายในรังที่ทำหน้าที่ผสมพันธุ์และวางไข่ ให้ลูกออกมาเป็นผึ้งงานหรือผึ้งตัวผู้ก็ได้ นางพญาสามารถควบคุมการทำงานต่าง ๆ ภายในรังให้อยู่ในสภาพปกติได้โดยใช้สารเฟอโรโมนนางพญาที่สร้างและปล่อยออกมาจากต่อมแมนดิบูลาร์เรียกว่า เฟอโรโมนนางพญา (queen pheromone)ซึ่งผึ้งงานที่เป็นสมาชิกภายในรังจะรับรู้ได้และมีการทำหน้าที่ต่าง ๆ ได้ตามปกติ
 +
 
 +
 
 +
== อ้างอิง ==
 +
<reference/>
 +
[http://www.google.com เว็บกูเกิ้ล]

รุ่นปัจจุบันของ 08:22, 21 กันยายน 2553

ไฟล์:bee.jpg


ผึ้งเป็นแมลงที่มีการดำรงชีวิตเป็นสังคม ภายในรังประกอบด้วยผึ้ง 3 วรรณะ ได้แก่ ผึ้งนางพญา ผึ้งงาน และผึ้งตัวผู้ โดยผึ้งนางพญาและผึ้งงานสามารถต่อยได้เนื่องจากมีเหล็กในซึ่งพัฒนามาจากอวัยวะวางไข่ที่พบในแมลงทั่วไป ส่วนผึ้งตัวผู้จะไม่สามารถต่อยได้ ตามปกติภายในรังจะพบผึ้งนางพญาเพียงตัวเดียว ผึ้งงานมีจำนวนนับพันหรือหมื่นตัวขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของรัง ในขณะที่ผึ้งตัวผู้จะไม่พบในรังตลอดเวลาและมีจำนวนนับร้อยตัว ไม่มากเหมือนกับผึ้งงาน ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านกีฏวิทยา: ชีววิทยาของผึ้ง ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงและไร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำการศึกษาวิจัยชีววิทยาด้านต่าง ๆ ของผึ้งมาเป็นเวลานับยี่สิบปีมาแล้ว


ผึ้งนางพญา

เป็นผึ้งเพศเมีย เกิดจากไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิกับเชื้ออสุจิ มีจำนวนโครโมโซม 2n เป็นผึ้งตัวเดียวภายในรังที่ทำหน้าที่ผสมพันธุ์และวางไข่ ให้ลูกออกมาเป็นผึ้งงานหรือผึ้งตัวผู้ก็ได้ นางพญาสามารถควบคุมการทำงานต่าง ๆ ภายในรังให้อยู่ในสภาพปกติได้โดยใช้สารเฟอโรโมนนางพญาที่สร้างและปล่อยออกมาจากต่อมแมนดิบูลาร์เรียกว่า เฟอโรโมนนางพญา (queen pheromone)ซึ่งผึ้งงานที่เป็นสมาชิกภายในรังจะรับรู้ได้และมีการทำหน้าที่ต่าง ๆ ได้ตามปกติ


อ้างอิง

<reference/> เว็บกูเกิ้ล

เครื่องมือส่วนตัว