เซียนคู่

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'เซียนคู่เป็นเทพแห่งมงคลและเทพแห่งความปรองดองที…')
 
แถว 1: แถว 1:
เซียนคู่เป็นเทพแห่งมงคลและเทพแห่งความปรองดองที่ชาวจีนนิยมนับถือกันทั่วไป ทั้งคู่เป็นนักบวชในนิกายเซน และเป็นคนในสมัยราชวงศ์ถัง ปีรัชศกเจิงกวน นักบวชคู่นี้คือ “พระภิกษุหานซาน” แห่งวัดเทียนสือหันเอี๋ยน และ “สือเต๋อ” เด็กกำพร้าบุตรบุญธรรมของพระอาจารย์เซน เฟิงกัน แห่งเทียนไถซาน ทั้งคู่รักใคร่กันประดุจพี่น้อง อีกทั้งมีความสมถะ ไม่หวังในลาภยศ คำเรียกขานเซียนทั้งคู่ จึงเกิดคำว่า เหอเหอ ซึ่งมีควาหมายว่าปรองดองรักใคร่ และตัวอักษรจีน เป็นเสียงพ้องกับเสียงเหอเหอ ที่แปลว่าดอกบัวและกล่อง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการปรองดองรักใคร่สามัคคี และทุกครั้งที่มีการแสดงงานศิลปะเกี่ยวกับเซียนทั้งคู่นี้ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องปั้นดินเผา เซรามิค ภาพวาด ลายผ้าปัก ไม้สลัก ภาพที่นิยมนำขึ้นแทนสองเซียน คือ องค์หนึ่งถือดอกบัว อีกองค์หนึ่งถือกล่องอาหารเจในอากัปกิริยาที่ยิ้มแย้ม สดชื่น ผู้คนที่ทำธุรกิจมักตั้งรูปเซียนคู่ไว้เป็นมงคล เพราะเชื่อว่าทำให้ค้าขายดี
เซียนคู่เป็นเทพแห่งมงคลและเทพแห่งความปรองดองที่ชาวจีนนิยมนับถือกันทั่วไป ทั้งคู่เป็นนักบวชในนิกายเซน และเป็นคนในสมัยราชวงศ์ถัง ปีรัชศกเจิงกวน นักบวชคู่นี้คือ “พระภิกษุหานซาน” แห่งวัดเทียนสือหันเอี๋ยน และ “สือเต๋อ” เด็กกำพร้าบุตรบุญธรรมของพระอาจารย์เซน เฟิงกัน แห่งเทียนไถซาน ทั้งคู่รักใคร่กันประดุจพี่น้อง อีกทั้งมีความสมถะ ไม่หวังในลาภยศ คำเรียกขานเซียนทั้งคู่ จึงเกิดคำว่า เหอเหอ ซึ่งมีควาหมายว่าปรองดองรักใคร่ และตัวอักษรจีน เป็นเสียงพ้องกับเสียงเหอเหอ ที่แปลว่าดอกบัวและกล่อง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการปรองดองรักใคร่สามัคคี และทุกครั้งที่มีการแสดงงานศิลปะเกี่ยวกับเซียนทั้งคู่นี้ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องปั้นดินเผา เซรามิค ภาพวาด ลายผ้าปัก ไม้สลัก ภาพที่นิยมนำขึ้นแทนสองเซียน คือ องค์หนึ่งถือดอกบัว อีกองค์หนึ่งถือกล่องอาหารเจในอากัปกิริยาที่ยิ้มแย้ม สดชื่น ผู้คนที่ทำธุรกิจมักตั้งรูปเซียนคู่ไว้เป็นมงคล เพราะเชื่อว่าทำให้ค้าขายดี
 +
 +
 +
'''''ที่มาข้อมูล''''' นิตยสารศิลปวัฒนธรรม
'''''รวบรวมและเรียบเรียงบทความ''''' ศูนย์การสื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ
'''''รวบรวมและเรียบเรียงบทความ''''' ศูนย์การสื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ

รุ่นปัจจุบันของ 08:26, 14 กันยายน 2554

เซียนคู่เป็นเทพแห่งมงคลและเทพแห่งความปรองดองที่ชาวจีนนิยมนับถือกันทั่วไป ทั้งคู่เป็นนักบวชในนิกายเซน และเป็นคนในสมัยราชวงศ์ถัง ปีรัชศกเจิงกวน นักบวชคู่นี้คือ “พระภิกษุหานซาน” แห่งวัดเทียนสือหันเอี๋ยน และ “สือเต๋อ” เด็กกำพร้าบุตรบุญธรรมของพระอาจารย์เซน เฟิงกัน แห่งเทียนไถซาน ทั้งคู่รักใคร่กันประดุจพี่น้อง อีกทั้งมีความสมถะ ไม่หวังในลาภยศ คำเรียกขานเซียนทั้งคู่ จึงเกิดคำว่า เหอเหอ ซึ่งมีควาหมายว่าปรองดองรักใคร่ และตัวอักษรจีน เป็นเสียงพ้องกับเสียงเหอเหอ ที่แปลว่าดอกบัวและกล่อง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการปรองดองรักใคร่สามัคคี และทุกครั้งที่มีการแสดงงานศิลปะเกี่ยวกับเซียนทั้งคู่นี้ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องปั้นดินเผา เซรามิค ภาพวาด ลายผ้าปัก ไม้สลัก ภาพที่นิยมนำขึ้นแทนสองเซียน คือ องค์หนึ่งถือดอกบัว อีกองค์หนึ่งถือกล่องอาหารเจในอากัปกิริยาที่ยิ้มแย้ม สดชื่น ผู้คนที่ทำธุรกิจมักตั้งรูปเซียนคู่ไว้เป็นมงคล เพราะเชื่อว่าทำให้ค้าขายดี


ที่มาข้อมูล นิตยสารศิลปวัฒนธรรม

รวบรวมและเรียบเรียงบทความ ศูนย์การสื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ

เครื่องมือส่วนตัว