เรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG)

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ' เรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลวLPG(Liquified Petroleum Gas) ได้แก่เ…')
 
(การแก้ไข 5 รุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล)
แถว 1: แถว 1:
-
เรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลวLPG(Liquified Petroleum Gas)
+
'''การศึกษาความพร้อมของเรือไทย เพื่อเตรียมพร้อมต่อการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) กรณีศึกษา : เรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG)'''
-
ได้แก่เรือที่บรรทุกแก๊สปิโตรเลียมต่าง ๆ เช่น Butane หรือแก๊สหุงต้ม โดยจะถูกทำให้เป็นของเหลวภายใต้อุณหภูมิที่สูงกว่า LNG หรือโดยการควบคุมทั้งอุณหภูมิและความดัน และเก็บแก๊สในรูปของเหลวในถังเก็บทรงกลม (Spherical shape) Tankers เป็นเรือบรรทุกสินค้าเทกองที่ออกแบบพิเศษสำหรับสินค้าจำพวกน้ำมัน สารเคมี หรือใช้บรรทุกแก๊ส จึงเป็นเรือที่ค่อนข้างอันตรายและต้องการการควบคุมดูแลความปลอดภัยในการขนส่งและสูบถ่ายสูงเช่นเดียวกับ Gas carriers เรือประเภทนี้จะมีถังเก็บบนเรือเป็นชุด (Series) แยกออกจากส่วนอื่น ถ้าเป็นเรือบรรทุกน้ำมันดิบในปริมาณมากจะถูกบรรจุในถังเก็บขนาดใหญ่ (มากกว่า 200,000 tons dwt) ซึ่งเรียกว่า Very Large Crude Carriers หรือ VLCCs และหากถูกบรรจุเก็บในถังขนาดมากกว่า 350,000 tons dwt เรียกว่า Ultra Large Crude Carriers หรือ ULCCs โดยทั่วไปถ้าเป็นเรือบรรทุกน้ำมันดิบ มักจะมีถังเก็บประมาณ 5-6 ถัง ส่วนเรือที่บรรทุกน้ำมันที่กลั่นแล้วจะมีประมาณ 8 ถัง เพื่อแยกเกรดหรือประเภทของน้ำมันที่กลั่นแล้ว ปกติเรือประเภทนี้จะขนถ่ายหรือสูบถ่ายผ่านทางท่อโดย Shore pump หรือ Shipborne pumping gear
+
  A STUDY OF THAI SHIPS READINESS FOR THE PREPARATION OF BEING  A MEMBER OF ASIAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC): A CASE STUDY OF LIQUID PETROLEUM GAS CARRIERS) (LPG)
 +
 
 +
'''ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา'''
 +
ปัจจุบันรูปแบบการค้าของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ได้เปลี่ยนแปลงไป จากเดิมที่เป็นการค้าขายของแต่ละประเทศ กลับกลายมาเป็นการรวมกลุ่มกันเพื่อเพิ่มอำนาจในการต่อรองกับประเทศ  ที่มีศักยภาพด้านการค้าและการลงทุน เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศในแถบยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีน ซึ่งในปัจจุบันได้กลายเป็นประเทศขนาดใหญ่ที่มีบทบาท และมีอำนาจทางเศรษฐกิจอย่างมากต่อระบบการค้าโลก เนื่องจากความได้เปรียบของตลาดภายในที่มีขนาดใหญ่ มีประชากรจำนวนมหาศาลและมีแรงงานราคาถูก จึงสามารถรองรับการผลิต  การบริโภค และมีศักยภาพในการส่งออกสูง หลังจากจีนได้เข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก  จึงได้รับสิทธิเท่าเทียมกับประเทศอื่นๆ ด้วยเหตุนี้ ประเทศต่างๆ ทั้งที่เป็นประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศกำลังพัฒนา จึงต้องปรับนโยบายและกลยุทธ์ทางเศรษฐกิจ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ            ในการแข่งขัน  จึงได้มีการรวมกลุ่มกันทำเขตการค้าเสรีขึ้น เพื่อเป็นการให้แต้มต่อ หรือให้สิทธิพิเศษทางการค้าและการลงทุนแก่ประเทศในกลุ่มเดียวกัน  ซึ่งเป็นยุทธวิธีในการสร้างพันธมิตรด้านเศรษฐกิจและการเมือง รวมทั้งเป็นการสร้างฐานในการขยายการค้าและการลงทุนกับประเทศหรือกลุ่มประเทศในภูมิภาคอื่นๆ ที่อยู่ห่างไกลด้วย เพื่อเป็นการปกป้องผลประโยชน์ และเพิ่มอำนาจการแข่งขันทางการค้าทั้งของประเทศตนเอง และประเทศในกลุ่มเดียวกัน
 +
การเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA)นั้น กำลังเป็นที่ถูกจับตามองเป็นอย่างมากสำหรับประเทศไทย เนื่องจากการเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียนนั้น จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถขยายตลาดด้านการค้าการลงทุนเพราะอาเซียนเป็นคู่ค้าอันดับ1 ของไทย  (ดังแผนภูมิภาพที่ 1.1) การรวมตัวกันอย่างใกล้ชิดที่มีการเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน                เช่น เส้นทางคมนาคม  ระบบรถไฟฟ้า และโครงข่ายอินเตอร์เน็ต จะช่วยเพิ่มโอกาสทางด้านการค้าการลงทุนให้กับประเทศไทย เพราะไทยได้เปรียบประเทศสมาชิกอื่นเนื่องจากไทยมีที่ตั้งอยู่ใจกลางอาเซียนและยังสามารถเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศสมาชิก โดยอาเซียนจะช่วยเพิ่มอำนาจต่อรองของไทยในเวทีโลกพร้อมกับการผลักดันให้มีการแก้ไขปัญหาของเพื่อนบ้านที่ส่งผลกระทบของไทย เช่น กรณีปัญหาพม่า และการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย  แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ยังคงส่งผลกระทบต่อประเทศไทยทั้งในระยะสั้นและระยะยาว  โดยการรวมกลุ่มเศรษฐกิจของอาเซียนมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่มลง  ให้เหลือน้อยที่สุด หรือเป็น 0 % และใช้อัตราภาษีปกติ ที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม การทำเขตการค้าเสรีในอดีตมุ่งในด้านการเปิดเสรีด้านสินค้า (goods) โดยการลดภาษีและอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลัก และยังรวมไปถึงการเปิดเสรีด้านบริการ (services) และการลงทุน
 +
หลังจากการดำเนินการไปสู่การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (ASEAN Free Trade Area: AFTA) ได้บรรลุเป้าหมายในปี 2546 ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 8 เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2545 ได้เห็นชอบให้อาเซียนกำหนดทิศทางการดำเนินงานเพื่อมุ่งไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community: EEC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ที่จะเกิดขึ้นในปี 2558        ทำให้อาเซียนนั้น เป็นที่ถูกจับตามองและเป็นที่สนใจเป็นอย่างมาก  ในเรื่องของการมีบทบาทและอำนาจการต่อรองมากขึ้นในเวทีเศรษฐกิจโลกแบบเดียวกับสหภาพยุโรป ด้วยตลาดที่มีประชากรกว่า 580 ล้านคน มากกว่าทั้งสหภาพยุโรป มีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศถึง 1.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ AEC นั้น เป็นมากกว่าการเปิดเสรีทางการค้าและข้อตกลงการลดภาษีนำเข้าสินค้าระหว่างกัน โดยครอบคลุมไปถึงเรื่องข้อตกลงการเปิดเสรีด้านการค้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายแรงงาน รวมถึงการปรับกฎเกณฑ์ต่างๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน  ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก ส่งเสริมการรวมตัวเข้ากับประชาคมโลกของอาเซียน ซึ่งสิ่งที่จะตามมาก็คือ  อาเซียนจะรวมกันเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมือรวมถึงปัจจัยการผลิตต่างๆ สามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี ภายใต้กรอบกฎเกณฑ์ กติกาที่ตกลงกันมีเส้นทางคมนาคมขนส่งเชื่อมโยงกันหมดในภูมิภาค  ช่วยลดต้นทุนทางโลจิสติกส์ในภูมิภาคอันนำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกที่เสมอภาคยิ่งขึ้น ช่วยลดช่องว่างระหว่างกัน ทำให้กำลังซื้อของประเทศเพื่อนบ้านดีขึ้น ขยายโอกาสการส่งออกและการลงทุนของไทย  อีกทั้งยังได้มีการวางแผนงานในการเปิดเสรีภาคบริการใน 5 สาขา ได้แก่ สาขาสุขภาพ  สาขาการท่องเที่ยว สาขาคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม  สาขาการขนส่งทางอากาศภายในปี  พ.ศ. 2553 และ สาขาโลจิสติกส์ภายในปี พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013)
 +
ส่วนใหญ่ประเทศไทยนั้นมีการผลิตและนำเข้า Gas LPG เป็นจำนวนมาก เนื่องจากปริมาณความต้องการใช้ภายในประเทศมีปริมาณที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง  จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพึ่งพาการขนส่งทางเรือเพื่อนำเข้าและส่งออกเป็นหลัก ทำให้การขนส่งทางเรือมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก  แต่ทั้งนี้พบว่ากองเรือพาณิชย์ของไทยนั้น เป็นกองเรือที่มีขนาดเล็กมาก  เมื่อเทียบกับขนาดของกองเรือในประเทศสมาชิกอาเซียน เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย  ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม  โดยข้อมูลจาก Review of Maritime Transport 2009 ได้จัดอันดับ  ของประเทศที่มีกองเรือพาณิชย์ขนาดใหญ่ในความควบคุม 35 อันดับแรก  พบว่ากองเรือพาณิชย์ไทยนั้นอยู่ในอันดับที่ 34 จากทั้งสิ้น 35 อันดับ (ดังภาพที่ 1.2)  อีกทั้งเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทยนั้น เมื่อเทียบกับเรือLPG ของประเทศในภูมิภาคอาเซียนหลายๆประเทศ ยกเว้นเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) จากประเทศสิงคโปร์แล้วนั้น พบว่าเรือของประเทศในอาเซียนมีขนาดที่ใกล้เคียงกันมาก(ดังตารางที่ 1.1)  อีกทั้งสภาพเรือ LPG ของไทยนั้นส่วนใหญ่มีสภาพค่อนข้างเก่าซึ่งอาจทำให้เกิดอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานในด้านต่างๆได้  และเนื่องจากจะมีการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนขึ้นนั้น  ซึ่งจะทำให้เรือของประเทศในภูมิภาคอาเซียนเข้ามาประกอบกิจการต่างๆได้ง่ายขึ้นกว่าเดิม  อีกทั้งแหล่งในการประกอบกิจการที่ใกล้ขึ้น  และเรือ LPG ของประเทศในอาเซียนก็มีขนาดที่ใกล้เคียงกัน จึงทำให้ผู้ใช้บริการเรือ LPG ของไทย มีแนวโน้มที่จะพิจารณาเลือกใช้บริการเรือ LPG จากประเทศในอาเซียน มากกว่าเรือ LPG ของไทย  ซึ่งเรือของอาเซียนอาจมีประสิทธิภาพในหลายๆด้านที่ดีกว่าเรือ LPG ของไทย และอาจจะมีราคาค่าจ้างที่ถูกกว่า  เพื่อรับจ้างในการขนส่งก๊าซ LPG  ออกสู่ต่างประเทศให้กับผู้ใช้บริการ  ซึ่งทั้งนี้นั้นอาจทำให้ผู้ประกอบการเจ้าของเรือ LPG ของไทย          ถูกแย่งงานจากผู้ประกอบการเจ้าของเรือ LPG ของประเทศต่างๆในอาเซียนได้
 +
 +
ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาถึงความคาดหวังและผลการปฏิบัติงานของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย ว่าขณะนี้กองเ (ผู้ให้บริการ)  สามารถให้บริการที่ดีมีมาตรฐานอย่างไรอยู่ในระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการหรือไม่ โดยจะทำการศึกษากลุ่มผู้ใช้บริการเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย เพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและผลที่ได้รับจริงจากการปฏิบัติงานในด้านต่างๆของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย  เพื่อนำผลที่ได้นั้นมาหาแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานในด้านต่างๆของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย และเพื่อเป็นแนวทางพัฒนาศักยภาพของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย ให้มีศักยภาพและมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น  มีความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงานเมื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) ซึ่งจะเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2558 นี้  อีกทั้งยังเป็นการพัฒนากิจการพาณิชยนาวี และสร้างความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจ และการขนส่งทางทะเลของประเทศไทยให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป
 +
 +
'''วัตถุประสงค์ของการวิจัย'''
 +
1. เพื่อศึกษาถึงความคาดหวังและผลการปฏิบัติงานของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย ทั้งมุมมองของผู้ให้บริการ(เจ้าของเรือไทย) และผู้ใช้บริการ(ผู้ค้าพลังงาน)
 +
2. เพื่อศึกษาสภาวะการค้า LPG และคาดการณ์บริโภคในอนาคตเมื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC)
 +
3. เพื่อศึกษาหาแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย
 +
4. เพื่อศึกษาคุณลักษณะเรือประเภทเทกองเหลว(liquid bulk) ประเภทควบคุมพิเศษ
 +
 
 +
'''ขอบเขตของการวิจัย'''
 +
1. ขอบเขตการศึกษาการวิจัยครั้งนี้จะศึกษาถึงความสามารถในการปฏิบัติงานของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย ที่เป็นผู้ให้บริการแก่กลุ่มผู้ค้าพลังงาน เท่านั้น  2. ขอบเขตด้านประชากรของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ องค์กรกลุ่มผูในประเทศไทยทั้งภาครัฐและเอกชน
 +
1.4  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
 +
1. ทำให้ทราบแนวความคิดในแต่ละปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานว่าสอดคล้องหรือว่าต่างกันเพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาแนวทางปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ
 +
2. ทำให้ทราบถึงสภาวะด้านการขนส่ง LPG ทางเรือและสถิติการใช้พลังงาน LPG  ที่ผ่านมาและแนวโน้มการใช้ในอนาคตภายหลังการเข้าเป็น AEC (2558)
 +
3. เพื่อนำมาตรการหรือมาตรฐานการดำเนินงานมาเป็นตัวกำหนดเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานของกองเรือ LPG ไทยให้พัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการรับมือกับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
 +
4. ทำให้ทราบถึงคุณลักษณะที่สำคัญของเรือ LPG ว่าแตกต่างกับเรือประเภทอื่นเช่นใด โดยเฉพาะด้านความปลอดภัยของตัวเรือ  และอุปกรณ์ควบคุมสินค้า (Cargo safety)
 +
 
 +
 
 +
'วิธีดำเนินการวิจัย'''1. การศึกษานี้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงพรรณณา (descriptive  analysis) ด้วย
 +
วิธีการเก็บรวบรวมเอกสาร  ข้อมูล  และเอกสารวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 +
2. จัดทำแบบสอบถาม โดยมีแบบสอบ จำนวน  2 ชุด ชุดที่ 1 เพื่อสอบถามถึงความคาดหวังและผลที่ได้รับจริงของกลุ่มผู้ค้าพลังงาน  ที่ใช้บริการจากบริษัทเจ้าของเรือ LPG ของไทย ของไทย  และชุดที่ 2 สำหรับ กลุ่มผู้ให้บริการกับกลุ่มผู้ค้าพลังงานของไทย ได้แก่ บริษัทเจ้าของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย ทั้งสิ้น 12 บริษัท
 +
3. ทำการเก็บรวบรวมแบบสอบถามโดยการลงเก็บข้อมูลแบบสอบถามและสัมภาษณ์ด้วยตนเอง และนำข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้มาวิเคราะห์และประมวลผล 
 +
4. จัดทำข้อเสนอแนะ และ แนวทางในการปรับปรุงเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ของไทย ให้มีศักยภาพและมีความสามารถในการปฏิบัติงานที่ดียิ่งขึ้นต่อไป
 +
 
 +
ผลการศึกษา  พบว่าปัจจัยที่กลุ่มผู้ใช้บริการคาดหวังมากที่สุดในขณะที่ผลที่รับจริงน้อยที่สุดต่อทั้ง 3 ปัจจัย พบว่าในเรื่องของการจัดการนั้นผลที่ได้รับจริงน้อยกว่าปัจจัยด้านตัวเรือ  และลูกเรือ  สำหรับปัจจัยที่กลุ่ม ผู้ให้บริการ พึงพอใจในปัจจุบันมากที่สุด และต้องการปรับปรุงในอนาคตหลังเป็น AEC มากที่สุด พบว่ากลุ่มผู้ให้บริการพึงพอใจในปัจจุบันมากที่สุดและต้องการปรับปรุงหลังเป็น AEC มากที่สุดต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้านในเรื่องของการจัดการ มากกว่าปัจจัยด้าน  ตัวเรือ และ ลูกเรือ

รุ่นปัจจุบันของ 11:33, 13 ธันวาคม 2555

การศึกษาความพร้อมของเรือไทย เพื่อเตรียมพร้อมต่อการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) กรณีศึกษา : เรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG)

  A STUDY OF THAI SHIPS READINESS FOR THE PREPARATION OF BEING  A MEMBER OF ASIAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC): A CASE STUDY OF LIQUID PETROLEUM GAS CARRIERS) (LPG)

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปัจจุบันรูปแบบการค้าของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ได้เปลี่ยนแปลงไป จากเดิมที่เป็นการค้าขายของแต่ละประเทศ กลับกลายมาเป็นการรวมกลุ่มกันเพื่อเพิ่มอำนาจในการต่อรองกับประเทศ ที่มีศักยภาพด้านการค้าและการลงทุน เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศในแถบยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศจีน ซึ่งในปัจจุบันได้กลายเป็นประเทศขนาดใหญ่ที่มีบทบาท และมีอำนาจทางเศรษฐกิจอย่างมากต่อระบบการค้าโลก เนื่องจากความได้เปรียบของตลาดภายในที่มีขนาดใหญ่ มีประชากรจำนวนมหาศาลและมีแรงงานราคาถูก จึงสามารถรองรับการผลิต การบริโภค และมีศักยภาพในการส่งออกสูง หลังจากจีนได้เข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก จึงได้รับสิทธิเท่าเทียมกับประเทศอื่นๆ ด้วยเหตุนี้ ประเทศต่างๆ ทั้งที่เป็นประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศกำลังพัฒนา จึงต้องปรับนโยบายและกลยุทธ์ทางเศรษฐกิจ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน จึงได้มีการรวมกลุ่มกันทำเขตการค้าเสรีขึ้น เพื่อเป็นการให้แต้มต่อ หรือให้สิทธิพิเศษทางการค้าและการลงทุนแก่ประเทศในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งเป็นยุทธวิธีในการสร้างพันธมิตรด้านเศรษฐกิจและการเมือง รวมทั้งเป็นการสร้างฐานในการขยายการค้าและการลงทุนกับประเทศหรือกลุ่มประเทศในภูมิภาคอื่นๆ ที่อยู่ห่างไกลด้วย เพื่อเป็นการปกป้องผลประโยชน์ และเพิ่มอำนาจการแข่งขันทางการค้าทั้งของประเทศตนเอง และประเทศในกลุ่มเดียวกัน การเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA)นั้น กำลังเป็นที่ถูกจับตามองเป็นอย่างมากสำหรับประเทศไทย เนื่องจากการเปิดเขตการค้าเสรีอาเซียนนั้น จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถขยายตลาดด้านการค้าการลงทุนเพราะอาเซียนเป็นคู่ค้าอันดับ1 ของไทย (ดังแผนภูมิภาพที่ 1.1) การรวมตัวกันอย่างใกล้ชิดที่มีการเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เส้นทางคมนาคม ระบบรถไฟฟ้า และโครงข่ายอินเตอร์เน็ต จะช่วยเพิ่มโอกาสทางด้านการค้าการลงทุนให้กับประเทศไทย เพราะไทยได้เปรียบประเทศสมาชิกอื่นเนื่องจากไทยมีที่ตั้งอยู่ใจกลางอาเซียนและยังสามารถเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศสมาชิก โดยอาเซียนจะช่วยเพิ่มอำนาจต่อรองของไทยในเวทีโลกพร้อมกับการผลักดันให้มีการแก้ไขปัญหาของเพื่อนบ้านที่ส่งผลกระทบของไทย เช่น กรณีปัญหาพม่า และการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ยังคงส่งผลกระทบต่อประเทศไทยทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยการรวมกลุ่มเศรษฐกิจของอาเซียนมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่มลง ให้เหลือน้อยที่สุด หรือเป็น 0 % และใช้อัตราภาษีปกติ ที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม การทำเขตการค้าเสรีในอดีตมุ่งในด้านการเปิดเสรีด้านสินค้า (goods) โดยการลดภาษีและอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลัก และยังรวมไปถึงการเปิดเสรีด้านบริการ (services) และการลงทุน หลังจากการดำเนินการไปสู่การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (ASEAN Free Trade Area: AFTA) ได้บรรลุเป้าหมายในปี 2546 ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 8 เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2545 ได้เห็นชอบให้อาเซียนกำหนดทิศทางการดำเนินงานเพื่อมุ่งไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community: EEC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ที่จะเกิดขึ้นในปี 2558 ทำให้อาเซียนนั้น เป็นที่ถูกจับตามองและเป็นที่สนใจเป็นอย่างมาก ในเรื่องของการมีบทบาทและอำนาจการต่อรองมากขึ้นในเวทีเศรษฐกิจโลกแบบเดียวกับสหภาพยุโรป ด้วยตลาดที่มีประชากรกว่า 580 ล้านคน มากกว่าทั้งสหภาพยุโรป มีมูลค่าการค้าระหว่างประเทศถึง 1.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ AEC นั้น เป็นมากกว่าการเปิดเสรีทางการค้าและข้อตกลงการลดภาษีนำเข้าสินค้าระหว่างกัน โดยครอบคลุมไปถึงเรื่องข้อตกลงการเปิดเสรีด้านการค้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายแรงงาน รวมถึงการปรับกฎเกณฑ์ต่างๆ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก ส่งเสริมการรวมตัวเข้ากับประชาคมโลกของอาเซียน ซึ่งสิ่งที่จะตามมาก็คือ อาเซียนจะรวมกันเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมือรวมถึงปัจจัยการผลิตต่างๆ สามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี ภายใต้กรอบกฎเกณฑ์ กติกาที่ตกลงกันมีเส้นทางคมนาคมขนส่งเชื่อมโยงกันหมดในภูมิภาค ช่วยลดต้นทุนทางโลจิสติกส์ในภูมิภาคอันนำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกที่เสมอภาคยิ่งขึ้น ช่วยลดช่องว่างระหว่างกัน ทำให้กำลังซื้อของประเทศเพื่อนบ้านดีขึ้น ขยายโอกาสการส่งออกและการลงทุนของไทย อีกทั้งยังได้มีการวางแผนงานในการเปิดเสรีภาคบริการใน 5 สาขา ได้แก่ สาขาสุขภาพ สาขาการท่องเที่ยว สาขาคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม สาขาการขนส่งทางอากาศภายในปี พ.ศ. 2553 และ สาขาโลจิสติกส์ภายในปี พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013) ส่วนใหญ่ประเทศไทยนั้นมีการผลิตและนำเข้า Gas LPG เป็นจำนวนมาก เนื่องจากปริมาณความต้องการใช้ภายในประเทศมีปริมาณที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพึ่งพาการขนส่งทางเรือเพื่อนำเข้าและส่งออกเป็นหลัก ทำให้การขนส่งทางเรือมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก แต่ทั้งนี้พบว่ากองเรือพาณิชย์ของไทยนั้น เป็นกองเรือที่มีขนาดเล็กมาก เมื่อเทียบกับขนาดของกองเรือในประเทศสมาชิกอาเซียน เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม โดยข้อมูลจาก Review of Maritime Transport 2009 ได้จัดอันดับ ของประเทศที่มีกองเรือพาณิชย์ขนาดใหญ่ในความควบคุม 35 อันดับแรก พบว่ากองเรือพาณิชย์ไทยนั้นอยู่ในอันดับที่ 34 จากทั้งสิ้น 35 อันดับ (ดังภาพที่ 1.2) อีกทั้งเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทยนั้น เมื่อเทียบกับเรือLPG ของประเทศในภูมิภาคอาเซียนหลายๆประเทศ ยกเว้นเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) จากประเทศสิงคโปร์แล้วนั้น พบว่าเรือของประเทศในอาเซียนมีขนาดที่ใกล้เคียงกันมาก(ดังตารางที่ 1.1) อีกทั้งสภาพเรือ LPG ของไทยนั้นส่วนใหญ่มีสภาพค่อนข้างเก่าซึ่งอาจทำให้เกิดอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานในด้านต่างๆได้ และเนื่องจากจะมีการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนขึ้นนั้น ซึ่งจะทำให้เรือของประเทศในภูมิภาคอาเซียนเข้ามาประกอบกิจการต่างๆได้ง่ายขึ้นกว่าเดิม อีกทั้งแหล่งในการประกอบกิจการที่ใกล้ขึ้น และเรือ LPG ของประเทศในอาเซียนก็มีขนาดที่ใกล้เคียงกัน จึงทำให้ผู้ใช้บริการเรือ LPG ของไทย มีแนวโน้มที่จะพิจารณาเลือกใช้บริการเรือ LPG จากประเทศในอาเซียน มากกว่าเรือ LPG ของไทย ซึ่งเรือของอาเซียนอาจมีประสิทธิภาพในหลายๆด้านที่ดีกว่าเรือ LPG ของไทย และอาจจะมีราคาค่าจ้างที่ถูกกว่า เพื่อรับจ้างในการขนส่งก๊าซ LPG ออกสู่ต่างประเทศให้กับผู้ใช้บริการ ซึ่งทั้งนี้นั้นอาจทำให้ผู้ประกอบการเจ้าของเรือ LPG ของไทย ถูกแย่งงานจากผู้ประกอบการเจ้าของเรือ LPG ของประเทศต่างๆในอาเซียนได้

ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาถึงความคาดหวังและผลการปฏิบัติงานของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย ว่าขณะนี้กองเ (ผู้ให้บริการ) สามารถให้บริการที่ดีมีมาตรฐานอย่างไรอยู่ในระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการหรือไม่ โดยจะทำการศึกษากลุ่มผู้ใช้บริการเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย เพื่อดูความสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังและผลที่ได้รับจริงจากการปฏิบัติงานในด้านต่างๆของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย เพื่อนำผลที่ได้นั้นมาหาแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานในด้านต่างๆของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย และเพื่อเป็นแนวทางพัฒนาศักยภาพของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย ให้มีศักยภาพและมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น มีความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงานเมื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) ซึ่งจะเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2558 นี้ อีกทั้งยังเป็นการพัฒนากิจการพาณิชยนาวี และสร้างความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจ และการขนส่งทางทะเลของประเทศไทยให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาถึงความคาดหวังและผลการปฏิบัติงานของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย ทั้งมุมมองของผู้ให้บริการ(เจ้าของเรือไทย) และผู้ใช้บริการ(ผู้ค้าพลังงาน) 2. เพื่อศึกษาสภาวะการค้า LPG และคาดการณ์บริโภคในอนาคตเมื่อเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC) 3. เพื่อศึกษาหาแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย 4. เพื่อศึกษาคุณลักษณะเรือประเภทเทกองเหลว(liquid bulk) ประเภทควบคุมพิเศษ

ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตการศึกษาการวิจัยครั้งนี้จะศึกษาถึงความสามารถในการปฏิบัติงานของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย ที่เป็นผู้ให้บริการแก่กลุ่มผู้ค้าพลังงาน เท่านั้น 2. ขอบเขตด้านประชากรของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ องค์กรกลุ่มผูในประเทศไทยทั้งภาครัฐและเอกชน 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทำให้ทราบแนวความคิดในแต่ละปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานว่าสอดคล้องหรือว่าต่างกันเพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาแนวทางปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ 2. ทำให้ทราบถึงสภาวะด้านการขนส่ง LPG ทางเรือและสถิติการใช้พลังงาน LPG ที่ผ่านมาและแนวโน้มการใช้ในอนาคตภายหลังการเข้าเป็น AEC (2558) 3. เพื่อนำมาตรการหรือมาตรฐานการดำเนินงานมาเป็นตัวกำหนดเพื่อปรับปรุงการดำเนินงานของกองเรือ LPG ไทยให้พัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการรับมือกับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 4. ทำให้ทราบถึงคุณลักษณะที่สำคัญของเรือ LPG ว่าแตกต่างกับเรือประเภทอื่นเช่นใด โดยเฉพาะด้านความปลอดภัยของตัวเรือ และอุปกรณ์ควบคุมสินค้า (Cargo safety)


'วิธีดำเนินการวิจัย1. การศึกษานี้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงพรรณณา (descriptive  analysis) ด้วย

วิธีการเก็บรวบรวมเอกสาร ข้อมูล และเอกสารวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. จัดทำแบบสอบถาม โดยมีแบบสอบ จำนวน 2 ชุด ชุดที่ 1 เพื่อสอบถามถึงความคาดหวังและผลที่ได้รับจริงของกลุ่มผู้ค้าพลังงาน ที่ใช้บริการจากบริษัทเจ้าของเรือ LPG ของไทย ของไทย และชุดที่ 2 สำหรับ กลุ่มผู้ให้บริการกับกลุ่มผู้ค้าพลังงานของไทย ได้แก่ บริษัทเจ้าของเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว(LPG) ของไทย ทั้งสิ้น 12 บริษัท 3. ทำการเก็บรวบรวมแบบสอบถามโดยการลงเก็บข้อมูลแบบสอบถามและสัมภาษณ์ด้วยตนเอง และนำข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้มาวิเคราะห์และประมวลผล 4. จัดทำข้อเสนอแนะ และ แนวทางในการปรับปรุงเรือบรรทุกก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ของไทย ให้มีศักยภาพและมีความสามารถในการปฏิบัติงานที่ดียิ่งขึ้นต่อไป

ผลการศึกษา พบว่าปัจจัยที่กลุ่มผู้ใช้บริการคาดหวังมากที่สุดในขณะที่ผลที่รับจริงน้อยที่สุดต่อทั้ง 3 ปัจจัย พบว่าในเรื่องของการจัดการนั้นผลที่ได้รับจริงน้อยกว่าปัจจัยด้านตัวเรือ และลูกเรือ สำหรับปัจจัยที่กลุ่ม ผู้ให้บริการ พึงพอใจในปัจจุบันมากที่สุด และต้องการปรับปรุงในอนาคตหลังเป็น AEC มากที่สุด พบว่ากลุ่มผู้ให้บริการพึงพอใจในปัจจุบันมากที่สุดและต้องการปรับปรุงหลังเป็น AEC มากที่สุดต่อปัจจัยทั้ง 3 ด้านในเรื่องของการจัดการ มากกว่าปัจจัยด้าน ตัวเรือ และ ลูกเรือ

เครื่องมือส่วนตัว