ข้อกำหนดทางเภสัชเวทของเหง้าว่านน้ำในประเทศไทย
จาก ChulaPedia
แถว 1: | แถว 1: | ||
'''ข้อกำหนดทางเภสัชเวทของเหง้าว่านน้ำในประเทศไทย''' | '''ข้อกำหนดทางเภสัชเวทของเหง้าว่านน้ำในประเทศไทย''' | ||
- | ''อัชฌา สมนึก | + | ''อัชฌา สมนึก'' |
- | ชนิดา พลานุเวช | + | ''ชนิดา พลานุเวช'' |
- | นิจศิริ เรืองรังษี'' | + | ''นิจศิริ เรืองรังษี'' |
ว่านน้ำ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า'' Acorus calamus'' Linn. เป็นพืชในวงศ์ Araceae เหง้าว่านน้ำแห้งเป็นเครื่องยาสมุนไพรที่ใช้ในตำรับยาไทย เช่น ประสะไพล ประสะกานพลู และวิสัมพญาใหญ่ การจัดทำข้อกำหนดทางเภสัชเวทของเครื่องยาว่านน้ำในประเทศไทย พบลักษณะทางจุลทรรศน์ ได้แก่ เม็ดแป้ง ต่อมน้ำมัน ผลึกแคลเซียมออกซาเลต เอกลักษณ์ทางเคมี-ฟิสิกส์พบว่ามีปริมาณเถ้ารวม เถ้าที่ไม่ละลายในกรด น้ำหนักที่หายไปเมื่อทำให้แห้ง ปริมาณสารสกัดด้วยเอทานอล ปริมาณสารสกัดด้วยน้ำ ปริมาณความชื้น และปริมาณน้ำมันระเหย ร้อยละ 4.49 ± 0.15, 0.83 ± 0.07, 12.23 ± 0.34, 7.32 ± 0.29, 9.53 ± 0.45, 13.15 ± 0.46 และ 1.37 ± 0.11 โดยน้ำหนัก ตามลำดับ วิเคราะห์น้ำมันระเหยโดยวิธีแกสโครมาโทกราฟีร่วมกับแมสสเปกโทรเมทรี พบว่ามีสารอะซาโรนเป็นองค์ประกอบหลัก อะซาโรนในน้ำมันระเหยของเหง้าว่านน้ำในประเทศไทยมีทั้งเบตาอะซาโรน (beta-asarone) และแอลฟาอะซาโรน (alpha-asarone) ในอัตราส่วน 3 : 1 เนื่องจากมีรายงานการก่อมะเร็งของสารเบตาอะซาโรนในสัตว์ฟันแทะ (rodent) แม้ว่าจะยังไม่มีรายงานการก่อมะเร็งในมนุษย์ จึงควรระมัดระวังในการใช้ว่านน้ำและน้ำมันระเหยของว่านน้ำ | ว่านน้ำ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า'' Acorus calamus'' Linn. เป็นพืชในวงศ์ Araceae เหง้าว่านน้ำแห้งเป็นเครื่องยาสมุนไพรที่ใช้ในตำรับยาไทย เช่น ประสะไพล ประสะกานพลู และวิสัมพญาใหญ่ การจัดทำข้อกำหนดทางเภสัชเวทของเครื่องยาว่านน้ำในประเทศไทย พบลักษณะทางจุลทรรศน์ ได้แก่ เม็ดแป้ง ต่อมน้ำมัน ผลึกแคลเซียมออกซาเลต เอกลักษณ์ทางเคมี-ฟิสิกส์พบว่ามีปริมาณเถ้ารวม เถ้าที่ไม่ละลายในกรด น้ำหนักที่หายไปเมื่อทำให้แห้ง ปริมาณสารสกัดด้วยเอทานอล ปริมาณสารสกัดด้วยน้ำ ปริมาณความชื้น และปริมาณน้ำมันระเหย ร้อยละ 4.49 ± 0.15, 0.83 ± 0.07, 12.23 ± 0.34, 7.32 ± 0.29, 9.53 ± 0.45, 13.15 ± 0.46 และ 1.37 ± 0.11 โดยน้ำหนัก ตามลำดับ วิเคราะห์น้ำมันระเหยโดยวิธีแกสโครมาโทกราฟีร่วมกับแมสสเปกโทรเมทรี พบว่ามีสารอะซาโรนเป็นองค์ประกอบหลัก อะซาโรนในน้ำมันระเหยของเหง้าว่านน้ำในประเทศไทยมีทั้งเบตาอะซาโรน (beta-asarone) และแอลฟาอะซาโรน (alpha-asarone) ในอัตราส่วน 3 : 1 เนื่องจากมีรายงานการก่อมะเร็งของสารเบตาอะซาโรนในสัตว์ฟันแทะ (rodent) แม้ว่าจะยังไม่มีรายงานการก่อมะเร็งในมนุษย์ จึงควรระมัดระวังในการใช้ว่านน้ำและน้ำมันระเหยของว่านน้ำ | ||
[[ไฟล์:chulapedia Acorus.jpg]] | [[ไฟล์:chulapedia Acorus.jpg]] |
รุ่นปัจจุบันของ 12:26, 13 พฤษภาคม 2556
ข้อกำหนดทางเภสัชเวทของเหง้าว่านน้ำในประเทศไทย อัชฌา สมนึก ชนิดา พลานุเวช นิจศิริ เรืองรังษี
ว่านน้ำ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Acorus calamus Linn. เป็นพืชในวงศ์ Araceae เหง้าว่านน้ำแห้งเป็นเครื่องยาสมุนไพรที่ใช้ในตำรับยาไทย เช่น ประสะไพล ประสะกานพลู และวิสัมพญาใหญ่ การจัดทำข้อกำหนดทางเภสัชเวทของเครื่องยาว่านน้ำในประเทศไทย พบลักษณะทางจุลทรรศน์ ได้แก่ เม็ดแป้ง ต่อมน้ำมัน ผลึกแคลเซียมออกซาเลต เอกลักษณ์ทางเคมี-ฟิสิกส์พบว่ามีปริมาณเถ้ารวม เถ้าที่ไม่ละลายในกรด น้ำหนักที่หายไปเมื่อทำให้แห้ง ปริมาณสารสกัดด้วยเอทานอล ปริมาณสารสกัดด้วยน้ำ ปริมาณความชื้น และปริมาณน้ำมันระเหย ร้อยละ 4.49 ± 0.15, 0.83 ± 0.07, 12.23 ± 0.34, 7.32 ± 0.29, 9.53 ± 0.45, 13.15 ± 0.46 และ 1.37 ± 0.11 โดยน้ำหนัก ตามลำดับ วิเคราะห์น้ำมันระเหยโดยวิธีแกสโครมาโทกราฟีร่วมกับแมสสเปกโทรเมทรี พบว่ามีสารอะซาโรนเป็นองค์ประกอบหลัก อะซาโรนในน้ำมันระเหยของเหง้าว่านน้ำในประเทศไทยมีทั้งเบตาอะซาโรน (beta-asarone) และแอลฟาอะซาโรน (alpha-asarone) ในอัตราส่วน 3 : 1 เนื่องจากมีรายงานการก่อมะเร็งของสารเบตาอะซาโรนในสัตว์ฟันแทะ (rodent) แม้ว่าจะยังไม่มีรายงานการก่อมะเร็งในมนุษย์ จึงควรระมัดระวังในการใช้ว่านน้ำและน้ำมันระเหยของว่านน้ำ