USR
จาก ChulaPedia
Rjoy (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) |
Rjoy (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) |
||
(การแก้ไข 17 รุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
- | ''' | + | ==''' ตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษาไทย''' == ''จอย ทองกล่อมสี'' |
- | "ความรับผิดชอบ" เป็นการแสดงออกทางพฤติกรรมของมนุษย์ ที่บ่งบอกถึง มนุษย์ผู้ซึ่ง ตระหนักถึงการกระทำของตน อันส่งผลกระทบต่อสิ่งต่างๆ ภายนอก ไม่ว่าจะเป็น บุคคล ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และอื่นๆ ทั้งสิ่งมีชีวิต และ สิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งผลกระทบของการกระทำนั้น มีทั้งผลกระทบทางบวก และผลกระทบทางลบ ผลกระทบทางตรง และ ผลกระทบทางอ้อม จากกระทำของบุคคล หรือการดำเนินการขององค์กร มีการนำแนวคิดการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility; CSR) ที่เริ่มดำเนินการในองค์กรภาคธุรกิจ ในรูปแบบของการกำหนดนโยบาย และการดำเนินกิจกรรมอันหลากหลาย ขององค์กรภาคธุรกิจ เพื่อเป็นการคืนกำไรให้กับสังคม แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม เกิดการสานสัมพันธ์อันดีในการอยู่ร่วมกันในสังคม ของสังคมมนุษย์กับธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ในส่วนของสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งเป็นสถาบันที่มีพันธกิจสำคัญประการหนึ่งคือ ผลิต และพัฒนากำลังคน เข้าสู่ระบบของสังคม ด้วยกระบวนการ เป้าประสงค์ บริบท และปัจจัยแวดล้อม แตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาคทั่วประเทศ การกำหนดยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา จึงมีทิศทางไปสู่การตอบสนองความต้องการของสังคม และชุมชน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยสร้างความเชื่อมโยง ในสิ่งที่แตกต่าง หรือเลื่อมล้ำในทุกมิติ ของสังคมให้สามารถ พัฒนาไปในแนวทางเดียวกันได้อย่างสมดุลและยั่งยืน (กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปีฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๖๕)ส่วนหนึ่งจาก ผลงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษาไทยตามหลักธรรมาภิบาล พบว่า แนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษาไทยตามหลักธรรมาภิบาลประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 63 ตัวบ่งชี้ กล่าวคือ | + | |
+ | '''"ความรับผิดชอบ"''' เป็นการแสดงออกทางพฤติกรรมของมนุษย์ ที่บ่งบอกถึง มนุษย์ผู้ซึ่ง ตระหนักถึงการกระทำของตน อันส่งผลกระทบต่อสิ่งต่างๆ ภายนอก ไม่ว่าจะเป็น บุคคล ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และอื่นๆ ทั้งสิ่งมีชีวิต และ สิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งผลกระทบของการกระทำนั้น มีทั้งผลกระทบทางบวก และผลกระทบทางลบ ผลกระทบทางตรง และ ผลกระทบทางอ้อม จากกระทำของบุคคล หรือการดำเนินการขององค์กร มีการนำแนวคิดการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม '''(Corporate Social Responsibility; CSR)''' ที่เริ่มดำเนินการในองค์กรภาคธุรกิจ ในรูปแบบของการกำหนดนโยบาย และการดำเนินกิจกรรมอันหลากหลาย ขององค์กรภาคธุรกิจ เพื่อเป็นการคืนกำไรให้กับสังคม แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม เกิดการสานสัมพันธ์อันดีในการอยู่ร่วมกันในสังคม ของสังคมมนุษย์กับธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ในส่วนของสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งเป็นสถาบันที่มีพันธกิจสำคัญประการหนึ่งคือ ผลิต และพัฒนากำลังคน เข้าสู่ระบบของสังคม ด้วยกระบวนการ เป้าประสงค์ บริบท และปัจจัยแวดล้อม แตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาคทั่วประเทศ การกำหนดยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา จึงมีทิศทางไปสู่การตอบสนองความต้องการของสังคม และชุมชน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยสร้างความเชื่อมโยง ในสิ่งที่แตกต่าง หรือเลื่อมล้ำในทุกมิติ ของสังคมให้สามารถ พัฒนาไปในแนวทางเดียวกันได้อย่างสมดุลและยั่งยืน (กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปีฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๖๕) ส่วนหนึ่งจาก ผลงานวิจัยเรื่อง '''''การพัฒนาตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษาไทยตามหลักธรรมาภิบาล (DEVELOPMENT OF UNIVERSITY SOCIAL RESPONSIBILITY INDICATORS BASED ON THE PRINCIPLES OF GOOD GOVERNANCE)''''' พบว่า แนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษาไทยตามหลักธรรมาภิบาลประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 63 ตัวบ่งชี้ กล่าวคือ | ||
องค์ประกอบที่ ๑ การดูแลแก้ปัญหา ชุมชนและสังคม จำนวน ๖ ตัวบ่งชี้ | องค์ประกอบที่ ๑ การดูแลแก้ปัญหา ชุมชนและสังคม จำนวน ๖ ตัวบ่งชี้ | ||
องค์ประกอบที่ ๒ การวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม จำนวน ๗ ตัวบ่งชี้ | องค์ประกอบที่ ๒ การวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม จำนวน ๗ ตัวบ่งชี้ | ||
แถว 8: | แถว 9: | ||
องค์ประกอบที่ ๖ การบริหารแบบมีส่วนร่วม จำนวน ๑๐ ตัวบ่งชี้ | องค์ประกอบที่ ๖ การบริหารแบบมีส่วนร่วม จำนวน ๑๐ ตัวบ่งชี้ | ||
องค์ประกอบที่ ๗ จริยธรรมทางวิชาการ จำนวน ๑๒ ตัวบ่งชี้ | องค์ประกอบที่ ๗ จริยธรรมทางวิชาการ จำนวน ๑๒ ตัวบ่งชี้ | ||
- | ซึ่งทั้ง 7 องค์ประกอบ สถาบันอุดมศึกษาสามารถนำตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคม ไปเป็นข้อมูลฐานคิด สำหรับการวางแผนเชิงนโยบายในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษาเองแต่ละแห่ง ที่มีอัตลักษณ์ มีพันธกิจ มีลักษณะทางกายภาพ ตลอดจน มีปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ ที่แตกต่างกัน หรือสถาบันอุดมศึกษาอาจพัฒนาไปถึงการจัดทำโครงการนำร่องเกี่ยวกับ “การเป็นมหาวิทยาลัยรับผิดชอบต่อสังคม” โดยการนำ องค์ประกอบ ๗ ด้าน ไปบูรณาการ พัฒนาศักยภาพของสถาบันอุดมศึกษาในทุกมิติ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมโดยสอดแทรกอยู่ในกระบวนวิธีการต่างๆ ของสถาบันอุดมศึกษา โดยให้เป็นไปในลักษณะของ “ความสมัครใจ” อย่างเป็นระบบ มีกรอบมาตรฐาน ของแต่ละสถาบันอุดมศึกษา ที่จะพัฒนาขึ้นให้สามารถเกิดผลประจักษ์ได้อย่างยั่งยืน ต่อไป | + | |
+ | [[ไฟล์:USR7-Joy-thai.jpg]] | ||
+ | |||
+ | ซึ่งทั้ง 7 องค์ประกอบ สถาบันอุดมศึกษาสามารถนำตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคม ไปเป็นข้อมูลฐานคิด สำหรับการวางแผนเชิงนโยบายในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษาเองแต่ละแห่ง ที่มีอัตลักษณ์ มีพันธกิจ มีลักษณะทางกายภาพ ตลอดจน มีปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ ที่แตกต่างกัน หรือสถาบันอุดมศึกษาอาจพัฒนาไปถึงการจัดทำโครงการนำร่องเกี่ยวกับ “การเป็นมหาวิทยาลัยรับผิดชอบต่อสังคม” โดยการนำ องค์ประกอบ ๗ ด้าน ไปบูรณาการ พัฒนาศักยภาพของสถาบันอุดมศึกษาในทุกมิติ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมโดยสอดแทรกอยู่ในกระบวนวิธีการต่างๆ ของสถาบันอุดมศึกษา โดยให้เป็นไปในลักษณะของ “ความสมัครใจ” อย่างเป็นระบบ มีกรอบมาตรฐาน ของแต่ละสถาบันอุดมศึกษา ที่จะพัฒนาขึ้นให้สามารถเกิดผลประจักษ์ได้อย่างยั่งยืน ต่อไป [[http://www.chulapedia.chula.ac.th/index.php/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2.pdf]] |
รุ่นปัจจุบันของ 08:22, 14 พฤษภาคม 2556
== ตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษาไทย == จอย ทองกล่อมสี
"ความรับผิดชอบ" เป็นการแสดงออกทางพฤติกรรมของมนุษย์ ที่บ่งบอกถึง มนุษย์ผู้ซึ่ง ตระหนักถึงการกระทำของตน อันส่งผลกระทบต่อสิ่งต่างๆ ภายนอก ไม่ว่าจะเป็น บุคคล ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และอื่นๆ ทั้งสิ่งมีชีวิต และ สิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งผลกระทบของการกระทำนั้น มีทั้งผลกระทบทางบวก และผลกระทบทางลบ ผลกระทบทางตรง และ ผลกระทบทางอ้อม จากกระทำของบุคคล หรือการดำเนินการขององค์กร มีการนำแนวคิดการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility; CSR) ที่เริ่มดำเนินการในองค์กรภาคธุรกิจ ในรูปแบบของการกำหนดนโยบาย และการดำเนินกิจกรรมอันหลากหลาย ขององค์กรภาคธุรกิจ เพื่อเป็นการคืนกำไรให้กับสังคม แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม เกิดการสานสัมพันธ์อันดีในการอยู่ร่วมกันในสังคม ของสังคมมนุษย์กับธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ในส่วนของสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งเป็นสถาบันที่มีพันธกิจสำคัญประการหนึ่งคือ ผลิต และพัฒนากำลังคน เข้าสู่ระบบของสังคม ด้วยกระบวนการ เป้าประสงค์ บริบท และปัจจัยแวดล้อม แตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาคทั่วประเทศ การกำหนดยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา จึงมีทิศทางไปสู่การตอบสนองความต้องการของสังคม และชุมชน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยสร้างความเชื่อมโยง ในสิ่งที่แตกต่าง หรือเลื่อมล้ำในทุกมิติ ของสังคมให้สามารถ พัฒนาไปในแนวทางเดียวกันได้อย่างสมดุลและยั่งยืน (กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปีฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๖๕) ส่วนหนึ่งจาก ผลงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษาไทยตามหลักธรรมาภิบาล (DEVELOPMENT OF UNIVERSITY SOCIAL RESPONSIBILITY INDICATORS BASED ON THE PRINCIPLES OF GOOD GOVERNANCE) พบว่า แนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษาไทยตามหลักธรรมาภิบาลประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 63 ตัวบ่งชี้ กล่าวคือ องค์ประกอบที่ ๑ การดูแลแก้ปัญหา ชุมชนและสังคม จำนวน ๖ ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ ๒ การวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม จำนวน ๗ ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ ๓ การใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม จำนวน ๖ ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ ๔ การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาชุมชน จำนวน ๙ ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ ๕ การส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม จำนวน ๑๓ ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ ๖ การบริหารแบบมีส่วนร่วม จำนวน ๑๐ ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ ๗ จริยธรรมทางวิชาการ จำนวน ๑๒ ตัวบ่งชี้
ซึ่งทั้ง 7 องค์ประกอบ สถาบันอุดมศึกษาสามารถนำตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคม ไปเป็นข้อมูลฐานคิด สำหรับการวางแผนเชิงนโยบายในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอุดมศึกษาเองแต่ละแห่ง ที่มีอัตลักษณ์ มีพันธกิจ มีลักษณะทางกายภาพ ตลอดจน มีปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ ที่แตกต่างกัน หรือสถาบันอุดมศึกษาอาจพัฒนาไปถึงการจัดทำโครงการนำร่องเกี่ยวกับ “การเป็นมหาวิทยาลัยรับผิดชอบต่อสังคม” โดยการนำ องค์ประกอบ ๗ ด้าน ไปบูรณาการ พัฒนาศักยภาพของสถาบันอุดมศึกษาในทุกมิติ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมโดยสอดแทรกอยู่ในกระบวนวิธีการต่างๆ ของสถาบันอุดมศึกษา โดยให้เป็นไปในลักษณะของ “ความสมัครใจ” อย่างเป็นระบบ มีกรอบมาตรฐาน ของแต่ละสถาบันอุดมศึกษา ที่จะพัฒนาขึ้นให้สามารถเกิดผลประจักษ์ได้อย่างยั่งยืน ต่อไป [[1]]