PLZT Ceramics
จาก ChulaPedia
(การแก้ไข 20 รุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล) | |||
แถว 1: | แถว 1: | ||
+ | ศิวัสม์ พึ่งศรีเพ็ง | ||
+ | |||
== เลดแลนทานัมเซอร์โคเนตไททาเนต (PLZT) == | == เลดแลนทานัมเซอร์โคเนตไททาเนต (PLZT) == | ||
เลดแลนทานัมเซอร์โคเนตไททาเนต (PLZT) คือ วัสดุเฟร์โรอิเล็คทริกชนิดหนึ่งซึ่งมีโครงสร้างผลึกแบบ Perovskite | เลดแลนทานัมเซอร์โคเนตไททาเนต (PLZT) คือ วัสดุเฟร์โรอิเล็คทริกชนิดหนึ่งซึ่งมีโครงสร้างผลึกแบบ Perovskite | ||
และมีสูตรโครงสร้างอย่างง่าย คือ ABO3 โดยตะกั่วไอออนและแลนทานัมไอออน บรรจุอยู่ในตำแหน่งของ A ส่วนเซอร์โคเนียม | และมีสูตรโครงสร้างอย่างง่าย คือ ABO3 โดยตะกั่วไอออนและแลนทานัมไอออน บรรจุอยู่ในตำแหน่งของ A ส่วนเซอร์โคเนียม | ||
- | ไอออนและไทเทเนียมไอออน บรรจุอยู่ในตำแหน่งของ B ดังเห็นแผนภาพจำลองได้ใน รูปที่ 1 ซึ่งสามารถเขียนสูตรทางเคมีได้เป็น | + | ไอออนและไทเทเนียมไอออน บรรจุอยู่ในตำแหน่งของ B ดังเห็นแผนภาพจำลองได้ใน '''รูปที่ 1''' ซึ่งสามารถเขียนสูตรทางเคมีได้เป็น |
Pb1-xLax(ZryTi1-y)1-x/4O3 | Pb1-xLax(ZryTi1-y)1-x/4O3 | ||
[[ไฟล์:แผนภาพจำลองโครงสร้างของวัสดุ PLZT.jpg]] | [[ไฟล์:แผนภาพจำลองโครงสร้างของวัสดุ PLZT.jpg]] | ||
- | รูปที่ 1 แผนภาพจำลองโครงสร้างของวัสดุ PLZT | + | '''รูปที่ 1'''<ref>Haertling, G. H. Ferroelectric Ceramics: History and Technology. Journal of the American Ceramic Society 82 (1999): 797-818.</ref> แผนภาพจำลองโครงสร้างของวัสดุ PLZT |
- | เนื่องจากโครงสร้างผลึกของ PLZT อยู่ในระบบผลึกเททระโกนัล (tetragonal) | + | เนื่องจากโครงสร้างผลึกของ PLZT อยู่ในระบบผลึกเททระโกนัล (tetragonal) ดังใน'''รูปที่ 1''' และมีการเคลื่อนตัวออกจาก |
จุดศูนย์กลางเล็กน้อยของไอออนในตำแหน่ง B เป็นเหตุให้ผลึก ของวัสดุ PLZT มีการโพลาไรเซชันในตัวเอง ดังเห็นได้ชัดเจนใน | จุดศูนย์กลางเล็กน้อยของไอออนในตำแหน่ง B เป็นเหตุให้ผลึก ของวัสดุ PLZT มีการโพลาไรเซชันในตัวเอง ดังเห็นได้ชัดเจนใน | ||
- | รูปที่ 2 ซึ่งแสดงทิศทางของไดโพลในโครงสร้างผลึก และด้วยความยืดหยุ่นทางไดโพลนี้เองทำให้วัสดุดังกล่าวสามารถเปลี่ยนขั้วไดโพล | + | '''รูปที่ 2''' ซึ่งแสดงทิศทางของไดโพลในโครงสร้างผลึก และด้วยความยืดหยุ่นทางไดโพลนี้เองทำให้วัสดุดังกล่าวสามารถเปลี่ยนขั้วไดโพล |
ได้ด้วยสนามไฟฟ้า | ได้ด้วยสนามไฟฟ้า | ||
[[ไฟล์:แผนภาพจำลองการโพลาไรเซชันของวัสดุ PLZT.jpg]] | [[ไฟล์:แผนภาพจำลองการโพลาไรเซชันของวัสดุ PLZT.jpg]] | ||
- | รูปที่ 2 แผนภาพจำลองการโพลาไรเซชันของวัสดุ PLZT | + | '''รูปที่ 2'''<ref>Haertling, G. H. Ferroelectric Ceramics: History and Technology. Journal of the American Ceramic Society 82 (1999): 797-818.</ref> แผนภาพจำลองการโพลาไรเซชันของวัสดุ PLZT |
+ | |||
+ | == ปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิกในวัสดุ PLZT == | ||
+ | |||
+ | เมื่อวัสดุ PLZT ถูกกระตุ้นด้วยแสงที่มีพลังงานมากกว่าช่องว่างแถบพลังงาน (energy band gap) ของ PLZT (~3.26 eV) | ||
+ | จะทำให้อิเล็คตรอนถูกกระตุ้นจากแถบเวเลนซ์ (valence band) ขึ้นไปอยู่ในแถบการนำ (conduction band) ซึ่งช่วงความยาว | ||
+ | คลื่นแสงที่มีค่าพลังงานเท่ากับ 3.26 eV อยู่ในช่วงประมาณ 380 นาโนเมตร ซึ่งเป็นช่วงของแสงอัลตราไวโอเล็ต ดังแสดงใน'''รูปที่ 3''' | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:แผนภาพจำลองปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิกวัสดุ PLZT.jpg]] | ||
+ | '''รูปที่ 3'''<ref>Poosanaas, P., Tonooka, K., Uchino, K. Photostrictive actuators. Mechatronics 10 (2000): 467-487.</ref> แผนภาพจำลองปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิกวัสดุ PLZT | ||
+ | |||
+ | จากผลงานวิจัยของ K. Uchino องค์ประกอบทางเคมีของวัสดุ PLZT ที่ก่อให้เกิดค่ากำลังไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก | ||
+ | (photovoltaic power, Pph) สูงสุด คือ องค์ประกอบที่มีตะกั่วไอออน แลนทานัมไอออน เซอร์โคเนียมไอออนและไทเทเนียมไอออน | ||
+ | อยู่ 97, 3, 52 และ 48 mol% ตามลำดับ ((Pb0.97La0.03)(Zr0.52Ti0.48)O3) ดังแสดงในซึ่งสามารถเขียนเป็นสัญลักษณ์ | ||
+ | อย่างง่าย คือ PLZT(3/52/48) ซึ่งให้ค่ากระแสไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photocurent, Jph) อยู่ที่ 2.8 nA/cm | ||
+ | และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photovoltage, Eph) อยู่ที่ 1.8 kV/cm ซึ่งให้ค่ากำลังไฟฟ้าเนื่องจาก | ||
+ | ปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิกสูงที่สุด ดังเห็นได้จากกราฟ contour ค่ากระแสไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photocurent Jph) | ||
+ | และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photovoltage, Eph) ใน'''รูปที่ 4''' | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:ค่า photocurrent และ photovoltage.jpg]] | ||
+ | '''รูปที่ 4'''<ref>Uchino, K., Aizawa, M., Nomura, L. S. Photostrictive effect in (Pb, La) (Zr, Ti)O3. Ferroelectrics 64 (1985): 199-208.</ref> กราฟ contour ค่า photocurrent (Jph) และค่า photovoltage (Eph) ที่องค์ประกอบทางเคมีต่างๆ ของวัสดุ PLZT | ||
+ | |||
+ | นอกจากนี้ K. Uchino พบว่าความยาวคลื่นแสงที่เหมาะสมกับปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิกของ PLZT(3/52/48) คือ อยู่ที่ 366 นาโนเมตร | ||
+ | เนื่องจากเป็นความยาวคลื่นที่ก่อให้เกิดกระแสไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิกสูงที่สุด ดังแสดงใน'''รูปที่ 5''' | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:48).jpg]] | ||
+ | '''รูปที่ 5'''<ref>Uchino, K., Aizawa, M., Nomura, L. S. Photostrictive effect in (Pb, La) (Zr, Ti)O3. Ferroelectrics 64 (1985): 199-208.</ref> กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นแสงและ photocurent ของวัสดุ PLZT(3/52/48) | ||
+ | |||
+ | == ปรากฏการณ์เพียโซอิเล็กทริกในวัสดุ PLZT == | ||
+ | K. Uchino ทำการวัดค่าคงที่เพียโซอิเล็กทริก (piezoelectric constant, d33) ของวัสดุ PLZT ที่องค์ประกอบทางเคมีต่างๆ | ||
+ | พบว่าวัสดุ PLZT ให้ค่าคงที่เพียโซอิเล็กทริกสูง คือ มากกว่า 300 พิโคเมตรต่อโวลต์ ขึ้นไป โดยเฉพาะองค์ประกอบทางเคมี PLZT(8/63/37) | ||
+ | ซึ่งให้ค่าคงที่เพียโซ-อิเล็กทริกสูงถึง 700 พิโคเมตรต่อโวลต์(21) ให้ค่าดังแสดงใน'''รูปที่ 6''' ซึ่งจะเห็นได้ว่าค่าคงที่เพียโซอิเล็กทริก ของวัสดุ | ||
+ | PLZT(3/52/48) มีค่าอยู่ที่ประมาณ 360 พิโคเมตรต่อโวลต์ | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:กราฟ contour ค่าคงที่เพียโซอิเล็กทริก.jpg ]] | ||
+ | '''รูปที่ 6'''<ref>Uchino, K., Aizawa, M., Nomura, L. S. Photostrictive effect in (Pb, La) (Zr, Ti)O3. Ferroelectrics 64 (1985): 199-208.</ref> กราฟ contour ค่าคงที่เพียโซอิเล็กทริก (d33) ที่องค์ประกอบทางเคมีต่างๆ ของวัสดุ PLZT | ||
+ | |||
+ | == ปรากฏการณ์โฟโตสทริกทีฟ (Photostrictive effect) ในวัสดุ PLZT == | ||
+ | ปรากฏการณ์โฟโตสทริกทีฟ (photostrictive effect) คือ ปรากฏการณ์ที่วัสดุเกิดปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photovoltaic effect) | ||
+ | และปรากฏการณ์เพียโซอิเล็กทริกแบบผันกลับ (converse-piezoelectric effect) ได้ในเวลาเดียวกัน นั่นหมายความว่าในขณะที่ | ||
+ | วัสดุดังกล่าวถูกฉายด้วยแสงแล้วจะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น ซึ่งกระแสไฟฟ้าดังกล่าวจะไปกระตุ้นการเกิดปรากฏการณ์เพียโซอิเล็กทริกแบบกลับผันทำ | ||
+ | ให้วัสดุดังกล่าวเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงเส้นดังแสดงใน'''รูปที่ 7''' ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้ถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์สองท่านในเวลาใกล้เคียงกัน | ||
+ | คือ P.S. Brody<ref>Brody, P. S. Optomechanical bimorph actuator. Ferroelectrics 50 (1983): 27-32.</ref> และ K. Uchino<ref>Uchino, K., Poosanaas, P., Tonooka, K. Photostrictive actuators. Ferroelectrics 264 (2001): 303-308.</ref> ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวสามารถอธิบายได้ด้วยสมการด้านล่าง | ||
+ | |||
+ | Xph = d33 x Eph | ||
+ | โดยที่ Xph คือ ค่าโฟโตสทริกชัน (photostriction) | ||
+ | d33 คือ ค่าคงที่เพียโซอิเล็กทริก (piezoelectric constant) | ||
+ | Eph คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photovoltage) | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:แผนภาพจำลองปรากฏการณ์โฟโตสทริกทีฟ.jpg]] | ||
+ | '''รูปที่ 7'''<ref>Phungsripheng, S. Effects of Nitrogen Doping on photostrictive property of Lead Lanthanum Zirconate Titanate ferroelectric ceramics. Master's Thesis, Department of Materials Science, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand, 2013.</ref> แผนภาพจำลองปรากฏการณ์โฟโตสทริกทีฟ ประกอบด้วย ปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก และปรากฏการณ์เพียโซอิเล็กทริก | ||
+ | |||
+ | ปรากฏการณ์โฟโตสทริกทีฟนี้เกิดขึ้นได้ในวัสดุเฟร์โรอิเล็กทริกชนิดเลดแลนทานัมเซอร์โคเนตไททาเนต เป็นเหตุให้วัสดุดังกล่าวได้รับความสนใจ | ||
+ | เพื่อนำไปใช้ในประโยชน์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแสง เช่น ใช้ในการบังคับหุ่นยนต์ระยะไกลด้วยแสง หรือใช้ในการแปลงสัญญาณแสงไปเป็น | ||
+ | สัญญาณเสียง หรือสร้างเป็นมอเตอร์แสง เป็นต้น<ref>Uchino, K. New applications of photostrictive ferroics. Material Research Innovations 1 (1997): 163-168.</ref> | ||
+ | |||
+ | == อ้างอิง == | ||
+ | <references/> |
รุ่นปัจจุบันของ 08:45, 4 มิถุนายน 2556
ศิวัสม์ พึ่งศรีเพ็ง
เนื้อหา |
เลดแลนทานัมเซอร์โคเนตไททาเนต (PLZT)
เลดแลนทานัมเซอร์โคเนตไททาเนต (PLZT) คือ วัสดุเฟร์โรอิเล็คทริกชนิดหนึ่งซึ่งมีโครงสร้างผลึกแบบ Perovskite และมีสูตรโครงสร้างอย่างง่าย คือ ABO3 โดยตะกั่วไอออนและแลนทานัมไอออน บรรจุอยู่ในตำแหน่งของ A ส่วนเซอร์โคเนียม ไอออนและไทเทเนียมไอออน บรรจุอยู่ในตำแหน่งของ B ดังเห็นแผนภาพจำลองได้ใน รูปที่ 1 ซึ่งสามารถเขียนสูตรทางเคมีได้เป็น
Pb1-xLax(ZryTi1-y)1-x/4O3
รูปที่ 1[1] แผนภาพจำลองโครงสร้างของวัสดุ PLZT
เนื่องจากโครงสร้างผลึกของ PLZT อยู่ในระบบผลึกเททระโกนัล (tetragonal) ดังในรูปที่ 1 และมีการเคลื่อนตัวออกจาก จุดศูนย์กลางเล็กน้อยของไอออนในตำแหน่ง B เป็นเหตุให้ผลึก ของวัสดุ PLZT มีการโพลาไรเซชันในตัวเอง ดังเห็นได้ชัดเจนใน รูปที่ 2 ซึ่งแสดงทิศทางของไดโพลในโครงสร้างผลึก และด้วยความยืดหยุ่นทางไดโพลนี้เองทำให้วัสดุดังกล่าวสามารถเปลี่ยนขั้วไดโพล ได้ด้วยสนามไฟฟ้า
รูปที่ 2[2] แผนภาพจำลองการโพลาไรเซชันของวัสดุ PLZT
ปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิกในวัสดุ PLZT
เมื่อวัสดุ PLZT ถูกกระตุ้นด้วยแสงที่มีพลังงานมากกว่าช่องว่างแถบพลังงาน (energy band gap) ของ PLZT (~3.26 eV) จะทำให้อิเล็คตรอนถูกกระตุ้นจากแถบเวเลนซ์ (valence band) ขึ้นไปอยู่ในแถบการนำ (conduction band) ซึ่งช่วงความยาว คลื่นแสงที่มีค่าพลังงานเท่ากับ 3.26 eV อยู่ในช่วงประมาณ 380 นาโนเมตร ซึ่งเป็นช่วงของแสงอัลตราไวโอเล็ต ดังแสดงในรูปที่ 3
รูปที่ 3[3] แผนภาพจำลองปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิกวัสดุ PLZT
จากผลงานวิจัยของ K. Uchino องค์ประกอบทางเคมีของวัสดุ PLZT ที่ก่อให้เกิดค่ากำลังไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photovoltaic power, Pph) สูงสุด คือ องค์ประกอบที่มีตะกั่วไอออน แลนทานัมไอออน เซอร์โคเนียมไอออนและไทเทเนียมไอออน อยู่ 97, 3, 52 และ 48 mol% ตามลำดับ ((Pb0.97La0.03)(Zr0.52Ti0.48)O3) ดังแสดงในซึ่งสามารถเขียนเป็นสัญลักษณ์ อย่างง่าย คือ PLZT(3/52/48) ซึ่งให้ค่ากระแสไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photocurent, Jph) อยู่ที่ 2.8 nA/cm และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photovoltage, Eph) อยู่ที่ 1.8 kV/cm ซึ่งให้ค่ากำลังไฟฟ้าเนื่องจาก ปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิกสูงที่สุด ดังเห็นได้จากกราฟ contour ค่ากระแสไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photocurent Jph) และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photovoltage, Eph) ในรูปที่ 4
รูปที่ 4[4] กราฟ contour ค่า photocurrent (Jph) และค่า photovoltage (Eph) ที่องค์ประกอบทางเคมีต่างๆ ของวัสดุ PLZT
นอกจากนี้ K. Uchino พบว่าความยาวคลื่นแสงที่เหมาะสมกับปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิกของ PLZT(3/52/48) คือ อยู่ที่ 366 นาโนเมตร เนื่องจากเป็นความยาวคลื่นที่ก่อให้เกิดกระแสไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิกสูงที่สุด ดังแสดงในรูปที่ 5
รูปที่ 5[5] กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นแสงและ photocurent ของวัสดุ PLZT(3/52/48)
ปรากฏการณ์เพียโซอิเล็กทริกในวัสดุ PLZT
K. Uchino ทำการวัดค่าคงที่เพียโซอิเล็กทริก (piezoelectric constant, d33) ของวัสดุ PLZT ที่องค์ประกอบทางเคมีต่างๆ พบว่าวัสดุ PLZT ให้ค่าคงที่เพียโซอิเล็กทริกสูง คือ มากกว่า 300 พิโคเมตรต่อโวลต์ ขึ้นไป โดยเฉพาะองค์ประกอบทางเคมี PLZT(8/63/37) ซึ่งให้ค่าคงที่เพียโซ-อิเล็กทริกสูงถึง 700 พิโคเมตรต่อโวลต์(21) ให้ค่าดังแสดงในรูปที่ 6 ซึ่งจะเห็นได้ว่าค่าคงที่เพียโซอิเล็กทริก ของวัสดุ PLZT(3/52/48) มีค่าอยู่ที่ประมาณ 360 พิโคเมตรต่อโวลต์
รูปที่ 6[6] กราฟ contour ค่าคงที่เพียโซอิเล็กทริก (d33) ที่องค์ประกอบทางเคมีต่างๆ ของวัสดุ PLZT
ปรากฏการณ์โฟโตสทริกทีฟ (Photostrictive effect) ในวัสดุ PLZT
ปรากฏการณ์โฟโตสทริกทีฟ (photostrictive effect) คือ ปรากฏการณ์ที่วัสดุเกิดปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photovoltaic effect) และปรากฏการณ์เพียโซอิเล็กทริกแบบผันกลับ (converse-piezoelectric effect) ได้ในเวลาเดียวกัน นั่นหมายความว่าในขณะที่ วัสดุดังกล่าวถูกฉายด้วยแสงแล้วจะเกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น ซึ่งกระแสไฟฟ้าดังกล่าวจะไปกระตุ้นการเกิดปรากฏการณ์เพียโซอิเล็กทริกแบบกลับผันทำ ให้วัสดุดังกล่าวเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงเส้นดังแสดงในรูปที่ 7 ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้ถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์สองท่านในเวลาใกล้เคียงกัน คือ P.S. Brody[7] และ K. Uchino[8] ซึ่งปรากฏการณ์ดังกล่าวสามารถอธิบายได้ด้วยสมการด้านล่าง
Xph = d33 x Eph
โดยที่ Xph คือ ค่าโฟโตสทริกชัน (photostriction) d33 คือ ค่าคงที่เพียโซอิเล็กทริก (piezoelectric constant) Eph คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก (photovoltage)
รูปที่ 7[9] แผนภาพจำลองปรากฏการณ์โฟโตสทริกทีฟ ประกอบด้วย ปรากฏการณ์โฟโตวอลเทอิก และปรากฏการณ์เพียโซอิเล็กทริก
ปรากฏการณ์โฟโตสทริกทีฟนี้เกิดขึ้นได้ในวัสดุเฟร์โรอิเล็กทริกชนิดเลดแลนทานัมเซอร์โคเนตไททาเนต เป็นเหตุให้วัสดุดังกล่าวได้รับความสนใจ เพื่อนำไปใช้ในประโยชน์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแสง เช่น ใช้ในการบังคับหุ่นยนต์ระยะไกลด้วยแสง หรือใช้ในการแปลงสัญญาณแสงไปเป็น สัญญาณเสียง หรือสร้างเป็นมอเตอร์แสง เป็นต้น[10]
อ้างอิง
- ↑ Haertling, G. H. Ferroelectric Ceramics: History and Technology. Journal of the American Ceramic Society 82 (1999): 797-818.
- ↑ Haertling, G. H. Ferroelectric Ceramics: History and Technology. Journal of the American Ceramic Society 82 (1999): 797-818.
- ↑ Poosanaas, P., Tonooka, K., Uchino, K. Photostrictive actuators. Mechatronics 10 (2000): 467-487.
- ↑ Uchino, K., Aizawa, M., Nomura, L. S. Photostrictive effect in (Pb, La) (Zr, Ti)O3. Ferroelectrics 64 (1985): 199-208.
- ↑ Uchino, K., Aizawa, M., Nomura, L. S. Photostrictive effect in (Pb, La) (Zr, Ti)O3. Ferroelectrics 64 (1985): 199-208.
- ↑ Uchino, K., Aizawa, M., Nomura, L. S. Photostrictive effect in (Pb, La) (Zr, Ti)O3. Ferroelectrics 64 (1985): 199-208.
- ↑ Brody, P. S. Optomechanical bimorph actuator. Ferroelectrics 50 (1983): 27-32.
- ↑ Uchino, K., Poosanaas, P., Tonooka, K. Photostrictive actuators. Ferroelectrics 264 (2001): 303-308.
- ↑ Phungsripheng, S. Effects of Nitrogen Doping on photostrictive property of Lead Lanthanum Zirconate Titanate ferroelectric ceramics. Master's Thesis, Department of Materials Science, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand, 2013.
- ↑ Uchino, K. New applications of photostrictive ferroics. Material Research Innovations 1 (1997): 163-168.