ผลของการใช้เกมคณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
จาก ChulaPedia
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผลของการใช้เกมคณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แ…') |
|||
แถว 3: | แถว 3: | ||
จากแนวทางการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นการจัดการศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด ความรู้ และ ประสบการณ์ เพื่อให้ดำรงตนอยู่ได้ในสังคมอย่างมีความสุข ซึ่งผู้เรียนต้องมีพื้นฐานทางด้านการคิดวิเคราะห์ โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ | จากแนวทางการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นการจัดการศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด ความรู้ และ ประสบการณ์ เพื่อให้ดำรงตนอยู่ได้ในสังคมอย่างมีความสุข ซึ่งผู้เรียนต้องมีพื้นฐานทางด้านการคิดวิเคราะห์ โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ | ||
- | 1) พัฒนาเกมคณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาผู้ใหญ่ | + | 1) พัฒนาเกมคณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาผู้ใหญ่ |
+ | |||
2) ศึกษาผลของการใช้เกมคณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาผู้ใหญ่ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสาทร จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชนิด คือ | 2) ศึกษาผลของการใช้เกมคณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาผู้ใหญ่ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสาทร จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชนิด คือ | ||
- | 1. แบบสอบถามความต้องการในการใช้เกมคณิตศาสตร์ตามแนวความคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ | + | |
- | 2. แผนการจัดกิจกรรม | + | 1. แบบสอบถามความต้องการในการใช้เกมคณิตศาสตร์ตามแนวความคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ |
+ | |||
+ | 2. แผนการจัดกิจกรรม | ||
+ | |||
3. เกมคณิตศาสตร์ และ | 3. เกมคณิตศาสตร์ และ | ||
+ | |||
4. แบบสอบถามการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบ (t-test) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 | 4. แบบสอบถามการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบ (t-test) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 | ||
โดย นายพรชัย เชี่ยวปัญญาทอง | โดย นายพรชัย เชี่ยวปัญญาทอง |
รุ่นปัจจุบันของ 07:33, 24 กรกฎาคม 2556
ผลของการใช้เกมคณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาผู้ใหญ่ (EFFECT OF USING MATHEMATICAL GAMES BASED ON THE PARTICIPATORY LEARNING APPROACH TO ENHANCE THE ANALYTICAL THINKING ABILITY OF ADULT LEARNERS)
จากแนวทางการจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นการจัดการศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด ความรู้ และ ประสบการณ์ เพื่อให้ดำรงตนอยู่ได้ในสังคมอย่างมีความสุข ซึ่งผู้เรียนต้องมีพื้นฐานทางด้านการคิดวิเคราะห์ โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาเกมคณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาผู้ใหญ่
2) ศึกษาผลของการใช้เกมคณิตศาสตร์ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาผู้ใหญ่ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตสาทร จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชนิด คือ
1. แบบสอบถามความต้องการในการใช้เกมคณิตศาสตร์ตามแนวความคิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์
2. แผนการจัดกิจกรรม
3. เกมคณิตศาสตร์ และ
4. แบบสอบถามการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบ (t-test) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05
โดย นายพรชัย เชี่ยวปัญญาทอง