บทบาทของแลคโตบาซิลลัสสายพันธุ์ไทยในการต้านการอักเสบและการต่อต้านเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร
จาก ChulaPedia
(การแก้ไขหนึ่งรุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล) | |||
แถว 2: | แถว 2: | ||
ROLE OF ''LACTOBACILLUS'' THAI STRAINS IN ANTI-INFLAMMATORY AND ANTAGONISTIC ACTIVITY TO ''HELICOBACTER PYLORI'' <br> | ROLE OF ''LACTOBACILLUS'' THAI STRAINS IN ANTI-INFLAMMATORY AND ANTAGONISTIC ACTIVITY TO ''HELICOBACTER PYLORI'' <br> | ||
- | + | นายเธียร ธีระวรวงศ์, ระดับการศึกษา : ปริญญาเอก (Ph.D. ), หลักสูตร : วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.), สาขาวิชา : จุลชีววิทยาทางการแพทย์ (สหสาขาวิชา) <br> | |
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : รศ.ดร.สมหญิง ธัมวาสร <br> | อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : รศ.ดร.สมหญิง ธัมวาสร <br> | ||
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม : ศ.นพ.ดร.เจมส์ เวอร์ซาโลวิค, รศ.พญ.ดวงพร วีระวัฒกานนท์, ดร.เจนนิเฟอร์ เค. สพินเลอร์ <br> | อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม : ศ.นพ.ดร.เจมส์ เวอร์ซาโลวิค, รศ.พญ.ดวงพร วีระวัฒกานนท์, ดร.เจนนิเฟอร์ เค. สพินเลอร์ <br> | ||
- | บทคัดย่อ<br> | + | '''บทคัดย่อ'''<br> |
เฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรเป็นสาเหตุของโรคกระเพาะอาหาร เช่น กระเพาะอาหารอักเสบ แผลเปปติก และมะเร็งกระเพาะอาหาร เพื่อหาโพรไบโอติกแบคทีเรียที่มีศักยภาพเสริมการรักษาโรคติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ได้นำแลคโตบาซิลลัสที่แยกได้จากกระเพาะอาหารของมนุษย์มาทดสอบกิจกรรมหลัก 2 อย่าง คือ การต้านการอักเสบและการยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ในด้านการต้านการอักเสบนั้นพบว่า น้ำเลี้ยงเชื้อของแลคโตบาซิลลัส 8 สายพันธุ์สามารถยับยั้งการสร้าง IL-8 โดยไม่เกี่ยวข้องกับการยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร น้ำเลี้ยงเชื้อของแลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B101 (LS-B101) แลคโตบาซิลลัสแรมโนซัส B103 (LR-B103) และแลคโตบาซิลลัสแพลนทารัม XB7 (LP-XB7) สามารถกดการแสดงออกของ IL-8 mRNA ในเซลล์เยื่อบุผิวกระเพาะอาหาร AGS ที่ถูกกระตุ้นด้วยเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรผ่านทางการยับยั้ง NF-κB และใน LP-XB7 มีการยับยั้ง c-Jun ด้วย ได้นำ LP-XB7 มาทดสอบการต้านการอักเสบในสัตว์ทดลองโดยใช้หนูแรท Sprague-Dawley พบว่า LP-XB7 สามารถยืดเวลาของการถูกตรวจพบและการตั้งถิ่นฐานในกระเพาะอาหารของหนูที่ติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ลดการอักเสบในกระเพาะและพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อกระเพาะอาหาร ยิ่งไปกว่านั้น การให้ LP-XB7 มีความสัมพันธ์กับการยับยั้ง TNF-α และ CINC-1 ในซีรั่ม และการยับยั้ง CINC-1 ในเนื้อเยื่อกระเพาะของหนูแรทที่ติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ผลการทดลองเหล่านี้ชี้นำว่า LP-XB7 หลั่งสารที่สามารถปรับเปลี่ยนการอักเสบระหว่างการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ในด้านการยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร จากการตรวจหา 85 สายพันธุ์ของแลคโตบาซิลลัสพบว่า แลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B23 (LS-B23) และแลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B37 (LS-B37) ยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรสายพันธุ์มาตรฐานโดยวิธี spot-overlay ได้นำ LS-B37 ซึ่งให้ผลดีที่สุดมาทดสอบต่อพบว่าสารที่หลั่งจาก LS-B37 สามารถทนกรด-ด่าง ทนความร้อน สามารถคงสภาพได้อย่างน้อย 3 เดือน ไม่มีความเกี่ยวข้องกับกรดแลกติก และมีขนาดประมาณ 3-10 kDa LS-B37 ยังสามารถยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรสายพันธุ์ที่ดื้อยา clarithromycin และ metronidazole ที่แยกได้จากผู้ป่วย ดังนั้น แลคโตบาซิลลัสแพลนทารัม XB7 (LP-XB7) และแลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B37 (LS-B37) จึงเป็นสายพันธุ์ที่มีศักยภาพที่จะนำมาใช้ในการเสริมการรักษาโรคติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรต่อไป | เฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรเป็นสาเหตุของโรคกระเพาะอาหาร เช่น กระเพาะอาหารอักเสบ แผลเปปติก และมะเร็งกระเพาะอาหาร เพื่อหาโพรไบโอติกแบคทีเรียที่มีศักยภาพเสริมการรักษาโรคติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ได้นำแลคโตบาซิลลัสที่แยกได้จากกระเพาะอาหารของมนุษย์มาทดสอบกิจกรรมหลัก 2 อย่าง คือ การต้านการอักเสบและการยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ในด้านการต้านการอักเสบนั้นพบว่า น้ำเลี้ยงเชื้อของแลคโตบาซิลลัส 8 สายพันธุ์สามารถยับยั้งการสร้าง IL-8 โดยไม่เกี่ยวข้องกับการยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร น้ำเลี้ยงเชื้อของแลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B101 (LS-B101) แลคโตบาซิลลัสแรมโนซัส B103 (LR-B103) และแลคโตบาซิลลัสแพลนทารัม XB7 (LP-XB7) สามารถกดการแสดงออกของ IL-8 mRNA ในเซลล์เยื่อบุผิวกระเพาะอาหาร AGS ที่ถูกกระตุ้นด้วยเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรผ่านทางการยับยั้ง NF-κB และใน LP-XB7 มีการยับยั้ง c-Jun ด้วย ได้นำ LP-XB7 มาทดสอบการต้านการอักเสบในสัตว์ทดลองโดยใช้หนูแรท Sprague-Dawley พบว่า LP-XB7 สามารถยืดเวลาของการถูกตรวจพบและการตั้งถิ่นฐานในกระเพาะอาหารของหนูที่ติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ลดการอักเสบในกระเพาะและพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อกระเพาะอาหาร ยิ่งไปกว่านั้น การให้ LP-XB7 มีความสัมพันธ์กับการยับยั้ง TNF-α และ CINC-1 ในซีรั่ม และการยับยั้ง CINC-1 ในเนื้อเยื่อกระเพาะของหนูแรทที่ติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ผลการทดลองเหล่านี้ชี้นำว่า LP-XB7 หลั่งสารที่สามารถปรับเปลี่ยนการอักเสบระหว่างการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ในด้านการยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร จากการตรวจหา 85 สายพันธุ์ของแลคโตบาซิลลัสพบว่า แลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B23 (LS-B23) และแลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B37 (LS-B37) ยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรสายพันธุ์มาตรฐานโดยวิธี spot-overlay ได้นำ LS-B37 ซึ่งให้ผลดีที่สุดมาทดสอบต่อพบว่าสารที่หลั่งจาก LS-B37 สามารถทนกรด-ด่าง ทนความร้อน สามารถคงสภาพได้อย่างน้อย 3 เดือน ไม่มีความเกี่ยวข้องกับกรดแลกติก และมีขนาดประมาณ 3-10 kDa LS-B37 ยังสามารถยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรสายพันธุ์ที่ดื้อยา clarithromycin และ metronidazole ที่แยกได้จากผู้ป่วย ดังนั้น แลคโตบาซิลลัสแพลนทารัม XB7 (LP-XB7) และแลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B37 (LS-B37) จึงเป็นสายพันธุ์ที่มีศักยภาพที่จะนำมาใช้ในการเสริมการรักษาโรคติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรต่อไป |
รุ่นปัจจุบันของ 16:19, 27 ตุลาคม 2556
บทบาทของแลคโตบาซิลลัสสายพันธุ์ไทยในการต้านการอักเสบและการต่อต้านเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร
ROLE OF LACTOBACILLUS THAI STRAINS IN ANTI-INFLAMMATORY AND ANTAGONISTIC ACTIVITY TO HELICOBACTER PYLORI
นายเธียร ธีระวรวงศ์, ระดับการศึกษา : ปริญญาเอก (Ph.D. ), หลักสูตร : วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วท.ด.), สาขาวิชา : จุลชีววิทยาทางการแพทย์ (สหสาขาวิชา)
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : รศ.ดร.สมหญิง ธัมวาสร
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม : ศ.นพ.ดร.เจมส์ เวอร์ซาโลวิค, รศ.พญ.ดวงพร วีระวัฒกานนท์, ดร.เจนนิเฟอร์ เค. สพินเลอร์
บทคัดย่อ
เฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรเป็นสาเหตุของโรคกระเพาะอาหาร เช่น กระเพาะอาหารอักเสบ แผลเปปติก และมะเร็งกระเพาะอาหาร เพื่อหาโพรไบโอติกแบคทีเรียที่มีศักยภาพเสริมการรักษาโรคติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ได้นำแลคโตบาซิลลัสที่แยกได้จากกระเพาะอาหารของมนุษย์มาทดสอบกิจกรรมหลัก 2 อย่าง คือ การต้านการอักเสบและการยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ในด้านการต้านการอักเสบนั้นพบว่า น้ำเลี้ยงเชื้อของแลคโตบาซิลลัส 8 สายพันธุ์สามารถยับยั้งการสร้าง IL-8 โดยไม่เกี่ยวข้องกับการยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร น้ำเลี้ยงเชื้อของแลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B101 (LS-B101) แลคโตบาซิลลัสแรมโนซัส B103 (LR-B103) และแลคโตบาซิลลัสแพลนทารัม XB7 (LP-XB7) สามารถกดการแสดงออกของ IL-8 mRNA ในเซลล์เยื่อบุผิวกระเพาะอาหาร AGS ที่ถูกกระตุ้นด้วยเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรผ่านทางการยับยั้ง NF-κB และใน LP-XB7 มีการยับยั้ง c-Jun ด้วย ได้นำ LP-XB7 มาทดสอบการต้านการอักเสบในสัตว์ทดลองโดยใช้หนูแรท Sprague-Dawley พบว่า LP-XB7 สามารถยืดเวลาของการถูกตรวจพบและการตั้งถิ่นฐานในกระเพาะอาหารของหนูที่ติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ลดการอักเสบในกระเพาะและพยาธิสภาพของเนื้อเยื่อกระเพาะอาหาร ยิ่งไปกว่านั้น การให้ LP-XB7 มีความสัมพันธ์กับการยับยั้ง TNF-α และ CINC-1 ในซีรั่ม และการยับยั้ง CINC-1 ในเนื้อเยื่อกระเพาะของหนูแรทที่ติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ผลการทดลองเหล่านี้ชี้นำว่า LP-XB7 หลั่งสารที่สามารถปรับเปลี่ยนการอักเสบระหว่างการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร ในด้านการยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไร จากการตรวจหา 85 สายพันธุ์ของแลคโตบาซิลลัสพบว่า แลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B23 (LS-B23) และแลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B37 (LS-B37) ยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรสายพันธุ์มาตรฐานโดยวิธี spot-overlay ได้นำ LS-B37 ซึ่งให้ผลดีที่สุดมาทดสอบต่อพบว่าสารที่หลั่งจาก LS-B37 สามารถทนกรด-ด่าง ทนความร้อน สามารถคงสภาพได้อย่างน้อย 3 เดือน ไม่มีความเกี่ยวข้องกับกรดแลกติก และมีขนาดประมาณ 3-10 kDa LS-B37 ยังสามารถยับยั้งการเจริญของเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรสายพันธุ์ที่ดื้อยา clarithromycin และ metronidazole ที่แยกได้จากผู้ป่วย ดังนั้น แลคโตบาซิลลัสแพลนทารัม XB7 (LP-XB7) และแลคโตบาซิลลัสซาลิวาเรียส B37 (LS-B37) จึงเป็นสายพันธุ์ที่มีศักยภาพที่จะนำมาใช้ในการเสริมการรักษาโรคติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ไพโลไรต่อไป