วัดญาณเวศกวัน
จาก ChulaPedia
(→วัดญาณเวศกวัน) |
(→ที่อยู่และแผนที่การเดินทาง) |
||
(การแก้ไข 9 รุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล) | |||
แถว 4: | แถว 4: | ||
[[ไฟล์:watnyanaves01.jpg]] | [[ไฟล์:watnyanaves01.jpg]] | ||
- | วัดญาณเวศกวัน ตั้งอยู่เลขที่ ๑๐ หมู่ที่ ๓ ตำบลบางกระทึก อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้รับอนุญาตเป็นทางการ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๒ เริ่มมีพระสงฆ์เข้าจำพรรษาในปีเดียวกันนั้น และมีประกาศตั้งเป็นวัดในปีพุทธศักราช ๒๕๓๗ ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๒ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มี พระพรหมคุณาภรณ์ ( | + | วัดญาณเวศกวัน ตั้งอยู่เลขที่ ๑๐ หมู่ที่ ๓ ตำบลบางกระทึก อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้รับอนุญาตเป็นทางการ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๒ เริ่มมีพระสงฆ์เข้าจำพรรษาในปีเดียวกันนั้น และมีประกาศตั้งเป็นวัดในปีพุทธศักราช ๒๕๓๗ ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๒ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มี[[พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]] เป็นเจ้าอาวาสสืบมาแต่ต้นจนปัจจุบัน |
+ | |||
ภายในเนื้อที่ ๒๘ ไร่ ๑ งาน ๘๕ ตารางวา ร่มรื่นด้วยพรรณไม้น้อยใหญ่ ผลิดอกออกใบอยู่ทั่วบริเวณ โอบล้อมด้วยบรรยากาศ แห่งธรรมชาติที่เกื้อกูลกันระหว่างสรรพชีวิต เป็นรมณียสถานที่ให้ความสดชื่นผ่อนคลาย สงบเย็น แก่ผู้ที่แวะเวียนเข้ามาพักพิง ด้วย ความตั้งใจที่จะให้อารามแห่งนี้เป็นป่าที่เหมาะแก่การเข้ามาแสวงหาความรู้ เจริญธรรม เจริญปัญญา สมดังชื่อ "ญาณเวศกวัน" อันมี ความหมายว่า "ป่าที่มีเรือนแห่งความรู้" หรือ "ป่าของผู้เข้าสู่ญาณ" พื้นที่ส่วนใหญ่ของวัดจึงมีไว้สำหรับต้นไม้มากกว่าสิ่งปลูกสร้าง เพราะธรรมชาติที่อยู่รายล้อมรอบตัวคือแหล่งการศึกษาเรียนรู้อันกว้างใหญ่ ล้ำลึก เป็นธรรมะใกล้ตัวที่ผู้มีปัญญาจะพึงค้นพบ | ภายในเนื้อที่ ๒๘ ไร่ ๑ งาน ๘๕ ตารางวา ร่มรื่นด้วยพรรณไม้น้อยใหญ่ ผลิดอกออกใบอยู่ทั่วบริเวณ โอบล้อมด้วยบรรยากาศ แห่งธรรมชาติที่เกื้อกูลกันระหว่างสรรพชีวิต เป็นรมณียสถานที่ให้ความสดชื่นผ่อนคลาย สงบเย็น แก่ผู้ที่แวะเวียนเข้ามาพักพิง ด้วย ความตั้งใจที่จะให้อารามแห่งนี้เป็นป่าที่เหมาะแก่การเข้ามาแสวงหาความรู้ เจริญธรรม เจริญปัญญา สมดังชื่อ "ญาณเวศกวัน" อันมี ความหมายว่า "ป่าที่มีเรือนแห่งความรู้" หรือ "ป่าของผู้เข้าสู่ญาณ" พื้นที่ส่วนใหญ่ของวัดจึงมีไว้สำหรับต้นไม้มากกว่าสิ่งปลูกสร้าง เพราะธรรมชาติที่อยู่รายล้อมรอบตัวคือแหล่งการศึกษาเรียนรู้อันกว้างใหญ่ ล้ำลึก เป็นธรรมะใกล้ตัวที่ผู้มีปัญญาจะพึงค้นพบ | ||
+ | |||
อาณาเขตของวัด ทิศเหนือ ติดทางสาธารณะในหมู่บ้าน ทิศใต้ ติดที่ดินราษฎร ทิศตะวันออก ติดเขตที่พักอาศัยและพุทธมณฑล ทิศตะวันตก ติดเส้นทางสาธารณะและคลอง | อาณาเขตของวัด ทิศเหนือ ติดทางสาธารณะในหมู่บ้าน ทิศใต้ ติดที่ดินราษฎร ทิศตะวันออก ติดเขตที่พักอาศัยและพุทธมณฑล ทิศตะวันตก ติดเส้นทางสาธารณะและคลอง | ||
+ | |||
+ | == พระประธาน == | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:phraprathan01.jpg]] | ||
พระประธานในอุโบสถ มีพระนามว่า พระพุทธประธานญาณเวศกวโนดม หน้าตักกว้าง ๕๙ นิ้ว ทำพิธีเททองที่ โรงหล่อ พระพุทธปฏิมาพรเลิศ อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๑ นำเข้าประดิษฐานในอุโบสถ เมื่อวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๒ ปิดทองเสร็จและสมโภช เมื่อวันที่ ๑๒ และ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๒ | พระประธานในอุโบสถ มีพระนามว่า พระพุทธประธานญาณเวศกวโนดม หน้าตักกว้าง ๕๙ นิ้ว ทำพิธีเททองที่ โรงหล่อ พระพุทธปฏิมาพรเลิศ อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๑ นำเข้าประดิษฐานในอุโบสถ เมื่อวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๒ ปิดทองเสร็จและสมโภช เมื่อวันที่ ๑๒ และ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๒ | ||
+ | |||
+ | |||
+ | |||
+ | == หอญาณเวศก์ธรรมสมุจย์ == | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:library01.jpg]] | ||
+ | |||
+ | บรรณสถานเพื่อการศึกษาค้นคว้า พระธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นอกจากมีคัมภีร์พระพุทธศาสนา ที่สำคัญ อาทิ พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา และคัมภีร์ตัพพินิมุต ไว้เป็นหลักในการค้นคว้าอ้างอิงแล้ว ยังเป็นที่เก็บรวบรวม ผลงานประพันธ์ของ[[ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]] ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุด ตลอดจนหนังสือและข้อเขียนประกอบอื่นๆ ที่เป็น ประโยชน์ต่อการใช้อ้างอิง สืบค้น ส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจในพระพุทธศาสนาให้กว้างขวางลึกซึ้งยิ่งขึ้น | ||
+ | |||
+ | |||
+ | หอญาณเวศก์ธรรมสมุจย์ เป็นอาคาร ๓ ชั้น ชั้นล่างออกแบบให้เป็นพื้นที่โล่งสำหรับจัดนิทรรศการชั่วคราว และใช้เป็น ห้องอเนกประสงค์สำหรับจัดกิจกรรมทางศาสนา ชั้น ๒ เป็นส่วนห้องสมุดและมุมอ่านหนังสือ โดยมีทางลาดสำหรับรถเข็นเชื่อมต่อ จากทางขึ้นลงชั้นล่าง ชั้น ๓ เป็นห้อง "ญาณปยุตตธรรมนิจัย" สำหรับนิทรรศการถาวรแสดงชีวประวัติและผลงานของ[[ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)]] ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน | ||
+ | |||
+ | |||
+ | หอญาณเวศก์ธรรมสมุจย์ เปิดให้บริการแก่พระภิกษุสามเณร และประชาชนทั่วไปเพื่อการศึกษาค้นคว้า จากแหล่งข้อมูล ในรูปของสิ่งพิมพ์ แถบ/แผ่นบันทึกเสียง แผ่นบันทึกภาพ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ และระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-library) ผ่านเว็บไซต์ของวัด ที่ http://www.watnyanaves.net และในอนาคตจะเปิดให้บริการยืมออกนอกสถานที่โดยการสมัครเป็นสมาชิก | ||
+ | |||
+ | |||
+ | ผู้สนใจสามารถใช้บริการได้ทุกวันอังคารถึงวันอาทิตย์ เวลา ๘.๓๐-๑๑.๓๐ น. และ ๑๒.๓๐-๑๖.๓๐ น. | ||
+ | |||
+ | == บรรยายธรรม ปฏิบัติธรรม == | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:dhammatalk01.jpg]] | ||
+ | |||
+ | |||
+ | '''การบรรยายธรรมธรรม''' | ||
+ | สาธุชนผู้สนใจสามารถรับฟังการกล่าวอนุโมทนากถก่อนฉันภัตตาหารเช้าและเพลได้ที่หอฉันเป็นประจำทุกวัน เวลาประมาณ ๐๗.๓๐ น. และ ๑๐.๔๕ น. | ||
+ | |||
+ | |||
+ | ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา มีกิจกรรมบรรยายธรรมในช่วงเช้า ตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐ ถึง ๑๐.๔๕ น. โดยพระครูปลัดสุวัฒนพรหมคุณ และคณะพระภิกษุวัดญาณเวศกวัน | ||
+ | |||
+ | |||
+ | '''การเจริญจิตตภาวนา ฟังธรรมบรรยาย และสนทนาธรรม''' | ||
+ | |||
+ | ผู้สนใจสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ทุกวันเสาร์และวันอาทิตย์ ที่อุโบสถชั้นล่าง ตั้งแต่เวลา ๐๙.๔๕-๑๒.๐๐ น. นำโดย พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร | ||
+ | |||
+ | |||
+ | == ที่อยู่และแผนที่การเดินทาง == | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:mapwatnyanaves.jpg]] | ||
+ | |||
+ | |||
+ | วัดญาณเวศกวัน (หลังพุทธมณฑล) ถ.พุทธมณฑลสาย ๔ ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๑๐ | ||
+ | |||
+ | |||
+ | โทรศัพท์ ๐๒-๔๘๒-๑๕๕๒, ๐๒-๔๘๒-๗๓๖๕, และ ๐๒-๘๘๙-๔๓๙๖ | ||
+ | |||
+ | '''การเดินทางด้วยรถยนต์ส่วนตัว''' | ||
+ | |||
+ | |||
+ | - จากสถานีขนส่งสายใต้แห่งใหม่ ไปตามถนนบรมราชชนนนีขาออก ตัดผ่านถนนพุทธมณฑลสาย ๒ และสาย ๓ ตามลำดับ เลี้ยวซ้ายเข้าถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ผ่านพุทธมณฑลด้านขวามือ แล้วเตรียมกลับรถที่สะพานลอยคนข้ามที่ ๒ หลังจากผ่านสามแยกไฟแดงแล้ว เมื่อกลับรถแล้วชิดซ้าย เข้าซอยแรก ตรงเข้ามาประมาณ ๒ กิโลเมตร เลี้ยวขวาตามทางบังคับ ตรงไปอีก ๒๐๐ เมตร สังเกตซอยเล็กๆ ข้ามคลองทางซ้าย มีป้ายชื่อวัดสีเขียวบอกทางที่ปากซอย จากนั้นขับต่อมาตามซอยนั้นประมาณ ๕๐ เมตรจะพบประตูทางเข้าวัดทางซ้ายมือ | ||
+ | |||
+ | |||
+ | - ถ้าเป็นวันปกติ จอดรถในวัดได้ ตามที่จอดข้างทางที่ระบุไว้ ส่วนวันสำคัญที่มีผู้นำรถมามาก ควรจอดรถที่จุดจอดรถรอบวัดด้านนอก คือเมื่อถึงประตูวัดไม่ต้องเลี้ยวเข้า ให้เลยไปอีกนิด จะมีลานจอดด้านขวามือ ถัดไปมีทางแยกเลี้ยวซ้าย ผ่านประตูวัดอีกประตูหนึ่งด้านซ้าย (ประตูทางออก) จะพบลานจอดรถอีกจุดหนึ่งทางขวามือ | ||
+ | |||
+ | |||
+ | '''การเดินทางด้วยรถประจำทาง''' | ||
+ | |||
+ | - สาย ๘๔ก คลองสาน - เพชรเกษม - บางแค - หนองแขม - พุทธมณฑล สาย ๔ | ||
+ | |||
+ | - สาย ๑๒๔ สนามหลวง - ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี - ศาลายา (ต่อมอเตอร์ไซค์รับจ้าง) | ||
+ | |||
+ | - ปอ. ๑๗๐ หมอชิต - วงศ์สว่าง - พระราม ๗ - จรัลสนิทวงศ์ - สายใต้ - ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี - พุทธมณฑล สาย๔ - อ้อมใหญ่ | ||
+ | |||
+ | - ปอ. ๕๑๕ อนุสารีย์ชัยสมรภูมิ - สะพานกรุงธน - ตังฮั่วเส็ง - ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี - ศาลายา (ต่อมอเตอร์ไซค์รับจ้าง) | ||
+ | |||
+ | - ปอ. ๕๓๙ อนุสารีย์ชัยสมรภูมิ - สะพานกรุงธน - ตังฮั่วเส็ง - ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี - พุทธมณฑล สาย๔ | ||
+ | |||
+ | '''การเดินทางด้วยรถตู้รับจ้าง''' | ||
+ | |||
+ | |||
+ | - ต้นทางหน้าห้างพาต้า ปิ่นเกล้า - ปลายทางวัดไร่ขิง - ลงที่พุทธมณฑล วัดอยู่ข้างหลังพุทธมณฑล เข้าซอยด้านข้างพุทธมณฑลฝั่งทิศตะวันออก ประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร (มีมอเตอร์ไซด์รับจ้างหน้าปากซอย) | ||
+ | |||
+ | |||
+ | |||
+ | --[[ผู้ใช้:Spiti|Spiti]] 07:49, 27 กันยายน 2553 (BST) | ||
+ | |||
+ | ที่มา: website ของวัดญาณเวศกวัน http://www.watnyanaves.net |
รุ่นปัจจุบันของ 07:21, 27 กันยายน 2553
เนื้อหา |
วัดญาณเวศกวัน
วัดญาณเวศกวัน ตั้งอยู่เลขที่ ๑๐ หมู่ที่ ๓ ตำบลบางกระทึก อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้รับอนุญาตเป็นทางการ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๒ เริ่มมีพระสงฆ์เข้าจำพรรษาในปีเดียวกันนั้น และมีประกาศตั้งเป็นวัดในปีพุทธศักราช ๒๕๓๗ ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๒ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีพระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) เป็นเจ้าอาวาสสืบมาแต่ต้นจนปัจจุบัน
ภายในเนื้อที่ ๒๘ ไร่ ๑ งาน ๘๕ ตารางวา ร่มรื่นด้วยพรรณไม้น้อยใหญ่ ผลิดอกออกใบอยู่ทั่วบริเวณ โอบล้อมด้วยบรรยากาศ แห่งธรรมชาติที่เกื้อกูลกันระหว่างสรรพชีวิต เป็นรมณียสถานที่ให้ความสดชื่นผ่อนคลาย สงบเย็น แก่ผู้ที่แวะเวียนเข้ามาพักพิง ด้วย ความตั้งใจที่จะให้อารามแห่งนี้เป็นป่าที่เหมาะแก่การเข้ามาแสวงหาความรู้ เจริญธรรม เจริญปัญญา สมดังชื่อ "ญาณเวศกวัน" อันมี ความหมายว่า "ป่าที่มีเรือนแห่งความรู้" หรือ "ป่าของผู้เข้าสู่ญาณ" พื้นที่ส่วนใหญ่ของวัดจึงมีไว้สำหรับต้นไม้มากกว่าสิ่งปลูกสร้าง เพราะธรรมชาติที่อยู่รายล้อมรอบตัวคือแหล่งการศึกษาเรียนรู้อันกว้างใหญ่ ล้ำลึก เป็นธรรมะใกล้ตัวที่ผู้มีปัญญาจะพึงค้นพบ
อาณาเขตของวัด ทิศเหนือ ติดทางสาธารณะในหมู่บ้าน ทิศใต้ ติดที่ดินราษฎร ทิศตะวันออก ติดเขตที่พักอาศัยและพุทธมณฑล ทิศตะวันตก ติดเส้นทางสาธารณะและคลอง
พระประธาน
พระประธานในอุโบสถ มีพระนามว่า พระพุทธประธานญาณเวศกวโนดม หน้าตักกว้าง ๕๙ นิ้ว ทำพิธีเททองที่ โรงหล่อ พระพุทธปฏิมาพรเลิศ อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๑ นำเข้าประดิษฐานในอุโบสถ เมื่อวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๒ ปิดทองเสร็จและสมโภช เมื่อวันที่ ๑๒ และ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๒
หอญาณเวศก์ธรรมสมุจย์
บรรณสถานเพื่อการศึกษาค้นคว้า พระธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นอกจากมีคัมภีร์พระพุทธศาสนา ที่สำคัญ อาทิ พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา และคัมภีร์ตัพพินิมุต ไว้เป็นหลักในการค้นคว้าอ้างอิงแล้ว ยังเป็นที่เก็บรวบรวม ผลงานประพันธ์ของ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุด ตลอดจนหนังสือและข้อเขียนประกอบอื่นๆ ที่เป็น ประโยชน์ต่อการใช้อ้างอิง สืบค้น ส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจในพระพุทธศาสนาให้กว้างขวางลึกซึ้งยิ่งขึ้น
หอญาณเวศก์ธรรมสมุจย์ เป็นอาคาร ๓ ชั้น ชั้นล่างออกแบบให้เป็นพื้นที่โล่งสำหรับจัดนิทรรศการชั่วคราว และใช้เป็น ห้องอเนกประสงค์สำหรับจัดกิจกรรมทางศาสนา ชั้น ๒ เป็นส่วนห้องสมุดและมุมอ่านหนังสือ โดยมีทางลาดสำหรับรถเข็นเชื่อมต่อ จากทางขึ้นลงชั้นล่าง ชั้น ๓ เป็นห้อง "ญาณปยุตตธรรมนิจัย" สำหรับนิทรรศการถาวรแสดงชีวประวัติและผลงานของ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
หอญาณเวศก์ธรรมสมุจย์ เปิดให้บริการแก่พระภิกษุสามเณร และประชาชนทั่วไปเพื่อการศึกษาค้นคว้า จากแหล่งข้อมูล ในรูปของสิ่งพิมพ์ แถบ/แผ่นบันทึกเสียง แผ่นบันทึกภาพ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ และระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-library) ผ่านเว็บไซต์ของวัด ที่ http://www.watnyanaves.net และในอนาคตจะเปิดให้บริการยืมออกนอกสถานที่โดยการสมัครเป็นสมาชิก
ผู้สนใจสามารถใช้บริการได้ทุกวันอังคารถึงวันอาทิตย์ เวลา ๘.๓๐-๑๑.๓๐ น. และ ๑๒.๓๐-๑๖.๓๐ น.
บรรยายธรรม ปฏิบัติธรรม
การบรรยายธรรมธรรม
สาธุชนผู้สนใจสามารถรับฟังการกล่าวอนุโมทนากถก่อนฉันภัตตาหารเช้าและเพลได้ที่หอฉันเป็นประจำทุกวัน เวลาประมาณ ๐๗.๓๐ น. และ ๑๐.๔๕ น.
ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา มีกิจกรรมบรรยายธรรมในช่วงเช้า ตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐ ถึง ๑๐.๔๕ น. โดยพระครูปลัดสุวัฒนพรหมคุณ และคณะพระภิกษุวัดญาณเวศกวัน
การเจริญจิตตภาวนา ฟังธรรมบรรยาย และสนทนาธรรม
ผู้สนใจสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ทุกวันเสาร์และวันอาทิตย์ ที่อุโบสถชั้นล่าง ตั้งแต่เวลา ๐๙.๔๕-๑๒.๐๐ น. นำโดย พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร
ที่อยู่และแผนที่การเดินทาง
วัดญาณเวศกวัน (หลังพุทธมณฑล) ถ.พุทธมณฑลสาย ๔ ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๑๐
โทรศัพท์ ๐๒-๔๘๒-๑๕๕๒, ๐๒-๔๘๒-๗๓๖๕, และ ๐๒-๘๘๙-๔๓๙๖
การเดินทางด้วยรถยนต์ส่วนตัว
- จากสถานีขนส่งสายใต้แห่งใหม่ ไปตามถนนบรมราชชนนนีขาออก ตัดผ่านถนนพุทธมณฑลสาย ๒ และสาย ๓ ตามลำดับ เลี้ยวซ้ายเข้าถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ผ่านพุทธมณฑลด้านขวามือ แล้วเตรียมกลับรถที่สะพานลอยคนข้ามที่ ๒ หลังจากผ่านสามแยกไฟแดงแล้ว เมื่อกลับรถแล้วชิดซ้าย เข้าซอยแรก ตรงเข้ามาประมาณ ๒ กิโลเมตร เลี้ยวขวาตามทางบังคับ ตรงไปอีก ๒๐๐ เมตร สังเกตซอยเล็กๆ ข้ามคลองทางซ้าย มีป้ายชื่อวัดสีเขียวบอกทางที่ปากซอย จากนั้นขับต่อมาตามซอยนั้นประมาณ ๕๐ เมตรจะพบประตูทางเข้าวัดทางซ้ายมือ
- ถ้าเป็นวันปกติ จอดรถในวัดได้ ตามที่จอดข้างทางที่ระบุไว้ ส่วนวันสำคัญที่มีผู้นำรถมามาก ควรจอดรถที่จุดจอดรถรอบวัดด้านนอก คือเมื่อถึงประตูวัดไม่ต้องเลี้ยวเข้า ให้เลยไปอีกนิด จะมีลานจอดด้านขวามือ ถัดไปมีทางแยกเลี้ยวซ้าย ผ่านประตูวัดอีกประตูหนึ่งด้านซ้าย (ประตูทางออก) จะพบลานจอดรถอีกจุดหนึ่งทางขวามือ
การเดินทางด้วยรถประจำทาง
- สาย ๘๔ก คลองสาน - เพชรเกษม - บางแค - หนองแขม - พุทธมณฑล สาย ๔
- สาย ๑๒๔ สนามหลวง - ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี - ศาลายา (ต่อมอเตอร์ไซค์รับจ้าง)
- ปอ. ๑๗๐ หมอชิต - วงศ์สว่าง - พระราม ๗ - จรัลสนิทวงศ์ - สายใต้ - ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี - พุทธมณฑล สาย๔ - อ้อมใหญ่
- ปอ. ๕๑๕ อนุสารีย์ชัยสมรภูมิ - สะพานกรุงธน - ตังฮั่วเส็ง - ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี - ศาลายา (ต่อมอเตอร์ไซค์รับจ้าง)
- ปอ. ๕๓๙ อนุสารีย์ชัยสมรภูมิ - สะพานกรุงธน - ตังฮั่วเส็ง - ปิ่นเกล้า-นครชัยศรี - พุทธมณฑล สาย๔
การเดินทางด้วยรถตู้รับจ้าง
- ต้นทางหน้าห้างพาต้า ปิ่นเกล้า - ปลายทางวัดไร่ขิง - ลงที่พุทธมณฑล วัดอยู่ข้างหลังพุทธมณฑล เข้าซอยด้านข้างพุทธมณฑลฝั่งทิศตะวันออก ประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร (มีมอเตอร์ไซด์รับจ้างหน้าปากซอย)
--Spiti 07:49, 27 กันยายน 2553 (BST)
ที่มา: website ของวัดญาณเวศกวัน http://www.watnyanaves.net