คุยกับผู้ใช้:52871017

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย '== ว่านพญาวานร == == ข้อมูลทั่วไป == '''ว่านพญาวานร''' มีชื…')
แถว 17: แถว 17:
== ส่วนประกอบทางพฤกษเคมี ==
== ส่วนประกอบทางพฤกษเคมี ==
จากการศึกษาด้านพฤกษเคมี (phytochemical) พบว่าในใบของว่านพญาวานรมีสารประกอบต่างๆ ดังนี้ ฟลาโวนอยด์,β-sitosterol, stigmasterol, kaempferol, apigenin, แล้วยังมี triterpenoid saponins, phytol,palmitic acid และ salicylic acid เป็นองค์ประกอบร่วมด้วย นอกจากนี้ยังพบว่าอะมิโนที่เป็น เช่น lysine, methionine และ threonine พบแร่ธาตุ เช่น แคลเซียม, โพแทสเซียม,แมกนีเซียม และ เหล็ก
จากการศึกษาด้านพฤกษเคมี (phytochemical) พบว่าในใบของว่านพญาวานรมีสารประกอบต่างๆ ดังนี้ ฟลาโวนอยด์,β-sitosterol, stigmasterol, kaempferol, apigenin, แล้วยังมี triterpenoid saponins, phytol,palmitic acid และ salicylic acid เป็นองค์ประกอบร่วมด้วย นอกจากนี้ยังพบว่าอะมิโนที่เป็น เช่น lysine, methionine และ threonine พบแร่ธาตุ เช่น แคลเซียม, โพแทสเซียม,แมกนีเซียม และ เหล็ก
 +
 +
 +
== รายการอ้างอิง ==
 +
 +
พีรวิชญ์ พาดี, สมศักดิ์ นวลแก้ว, ชูศรี ตลับมุข และ สุภาษร สกุลใจตรง.ความเป็นพิษเฉียบพลันและกึ่งเฉียบพลันของสารสกัดใบพญาวานร.วารสารเภสัชศาสตร์อีสาน 5(2552): 74-81
 +
วงศ์สถิตย์ ฉั่วกุล และ อรัญญา ศรีบุศราคัม. ฮวานง็อก (Hoan-Ngoc) สมุนไพรในกระแส. จุลสารข้อมูลสมุนไพร 25(2551): 3-6
 +
Dieu HK., Loc CB., Yamasaki S. and Hirata Y. The Ethnobotanical and Botanical Study on Pseuderanthemum palatiferum as a New Medicinal
 +
    Plant in the Mekong Delta of Vietnam. JARQ. 39(2005): 191 – 196
 +
Giang PM., Bao HV. and Son PT. Phytochemical study on Pseuderanthemum palatiferum (Nees) Radlk., Acanthace. J Chem. 41(2003): 115 - 118

การปรับปรุง เมื่อ 08:53, 16 สิงหาคม 2555

เนื้อหา

ว่านพญาวานร

ข้อมูลทั่วไป

ว่านพญาวานร มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า Pseuderanthemum palatiferum (Nees) Radlk เป็นพืชในวงศ์ Acanthaceae ชื่ออื่น คือ ฮว่านง็อก

มีถิ่นกำเนิดที่ประเทศเวียดนาม ค้นพบในป่าแถบเวียดนามเหนือ ได้มีการปลูกขยายใช้เป็นพืชสมุนไพรและไม้ประดับ ว่านพญาวานรนำเข้ามาในไทยโดยกลุ่มทหารผ่านศึกสมัยสงครามเวียดนาม ลักษณะต้นมีลักษณะเป็นไม้พุ่ม ขนาดเล็ก สูงประมาณ 1-3 เมตร ใบอ่อนปลายแหลม ส่วนล่างของใบหยาบสีเขียวเข้ม ด้านบนสีเขียวอ่อน เจริญเติบโตได้ดีในที่ร่มหรือแดดรำไร ใบเดียวเรียงตรงข้าม ลำต้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม เปลือกต้นผิวเรียบสีเขียว ดอกเป็นช่อสีชมพู นำเงินม่วงหรือเกือบดำ

ผลการศึกษาจาก Mekong Delta ของเวียดนาม ระบุว่านำมาใช้ในโรคทังE หมด 25ชนิด เช่น ความดัน, ท้องเสีย, โรคไขข้ออักเสบ,การอักเสบในลำคอ และอื่นๆ ในประเทศไทยมีการนำพืชชนิดนี้มาาใช้ใน การรักษาโรค เช่น โรคกระเพาะ, โรคมะเร็ง, โรคเบาหวาน, โรคไตอักเสบ และโรคอุจจาระร่วง เป็นต้น


ส่วนประกอบทางพฤกษเคมี

จากการศึกษาด้านพฤกษเคมี (phytochemical) พบว่าในใบของว่านพญาวานรมีสารประกอบต่างๆ ดังนี้ ฟลาโวนอยด์,β-sitosterol, stigmasterol, kaempferol, apigenin, แล้วยังมี triterpenoid saponins, phytol,palmitic acid และ salicylic acid เป็นองค์ประกอบร่วมด้วย นอกจากนี้ยังพบว่าอะมิโนที่เป็น เช่น lysine, methionine และ threonine พบแร่ธาตุ เช่น แคลเซียม, โพแทสเซียม,แมกนีเซียม และ เหล็ก


รายการอ้างอิง

พีรวิชญ์ พาดี, สมศักดิ์ นวลแก้ว, ชูศรี ตลับมุข และ สุภาษร สกุลใจตรง.ความเป็นพิษเฉียบพลันและกึ่งเฉียบพลันของสารสกัดใบพญาวานร.วารสารเภสัชศาสตร์อีสาน 5(2552): 74-81 วงศ์สถิตย์ ฉั่วกุล และ อรัญญา ศรีบุศราคัม. ฮวานง็อก (Hoan-Ngoc) สมุนไพรในกระแส. จุลสารข้อมูลสมุนไพร 25(2551): 3-6 Dieu HK., Loc CB., Yamasaki S. and Hirata Y. The Ethnobotanical and Botanical Study on Pseuderanthemum palatiferum as a New Medicinal

    Plant in the Mekong Delta of Vietnam. JARQ. 39(2005): 191 – 196

Giang PM., Bao HV. and Son PT. Phytochemical study on Pseuderanthemum palatiferum (Nees) Radlk., Acanthace. J Chem. 41(2003): 115 - 118

เครื่องมือส่วนตัว