|
|
แถว 1: |
แถว 1: |
- | == ว่านพญาวานร ==
| |
| | | |
- |
| |
- | == ข้อมูลทั่วไป ==
| |
- |
| |
- | '''ว่านพญาวานร''' มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า Pseuderanthemum palatiferum (Nees) Radlk
| |
- | เป็นพืชในวงศ์ Acanthaceae
| |
- | ชื่ออื่น คือ ฮว่านง็อก
| |
- |
| |
- | มีถิ่นกำเนิดที่ประเทศเวียดนาม ค้นพบในป่าแถบเวียดนามเหนือ ได้มีการปลูกขยายใช้เป็นพืชสมุนไพรและไม้ประดับ ว่านพญาวานรนำเข้ามาในไทยโดยกลุ่มทหารผ่านศึกสมัยสงครามเวียดนาม ลักษณะต้นมีลักษณะเป็นไม้พุ่ม ขนาดเล็ก สูงประมาณ 1-3 เมตร ใบอ่อนปลายแหลม ส่วนล่างของใบหยาบสีเขียวเข้ม ด้านบนสีเขียวอ่อน เจริญเติบโตได้ดีในที่ร่มหรือแดดรำไร ใบเดียวเรียงตรงข้าม ลำต้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม
| |
- | เปลือกต้นผิวเรียบสีเขียว ดอกเป็นช่อสีชมพู นำเงินม่วงหรือเกือบดำ
| |
- |
| |
- | ผลการศึกษาจาก Mekong Delta ของเวียดนาม ระบุว่านำมาใช้ในโรคทังE หมด 25ชนิด เช่น ความดัน, ท้องเสีย, โรคไขข้ออักเสบ,การอักเสบในลำคอ และอื่นๆ
| |
- | ในประเทศไทยมีการนำพืชชนิดนี้มาาใช้ใน การรักษาโรค เช่น โรคกระเพาะ, โรคมะเร็ง, โรคเบาหวาน, โรคไตอักเสบ และโรคอุจจาระร่วง เป็นต้น
| |
- |
| |
- |
| |
- | == ส่วนประกอบทางพฤกษเคมี ==
| |
- | จากการศึกษาด้านพฤกษเคมี (phytochemical) พบว่าในใบของว่านพญาวานรมีสารประกอบต่างๆ ดังนี้ ฟลาโวนอยด์,β-sitosterol, stigmasterol, kaempferol, apigenin, แล้วยังมี triterpenoid saponins, phytol,palmitic acid และ salicylic acid เป็นองค์ประกอบร่วมด้วย นอกจากนี้ยังพบว่าอะมิโนที่เป็น เช่น lysine, methionine และ threonine พบแร่ธาตุ เช่น แคลเซียม, โพแทสเซียม,แมกนีเซียม และ เหล็ก
| |
- |
| |
- |
| |
- | == รายการอ้างอิง ==
| |
- |
| |
- | พีรวิชญ์ พาดี, สมศักดิ์ นวลแก้ว, ชูศรี ตลับมุข และ สุภาษร สกุลใจตรง.ความเป็นพิษเฉียบพลันและกึ่งเฉียบพลันของสารสกัดใบพญาวานร.วารสารเภสัชศาสตร์อีสาน 5(2552): 74-81
| |
- | วงศ์สถิตย์ ฉั่วกุล และ อรัญญา ศรีบุศราคัม. ฮวานง็อก (Hoan-Ngoc) สมุนไพรในกระแส. จุลสารข้อมูลสมุนไพร 25(2551): 3-6
| |
- | Dieu HK., Loc CB., Yamasaki S. and Hirata Y. The Ethnobotanical and Botanical Study on Pseuderanthemum palatiferum as a New Medicinal
| |
- | Plant in the Mekong Delta of Vietnam. JARQ. 39(2005): 191 – 196
| |
- | Giang PM., Bao HV. and Son PT. Phytochemical study on Pseuderanthemum palatiferum (Nees) Radlk., Acanthace. J Chem. 41(2003): 115 - 118
| |