จิตบำบัดประคับประคอง

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
แถว 1: แถว 1:
-
 
== '''ผลของจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมต่ออาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ  (THE EFFECT OF SUPPORTIVE PSYCHOTHERAPY WITH PARTICIPATING FAMILY  ON  DEPRESSIVE SYMPTOMS OF ELDERLY  PATIENTS WITH  MAJOR DEPRESSIVE DISORDER)'''ผู้วิจัย ร.อ.หญิง อุดมลักษณ์ ศรีเพ็ง(Udomlak Sripeng,R.N.) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รังสิมันต์ สุนทรไชยา (Rangsiman Soonthornchaiya, Ph.D.,R.N.)    ==
== '''ผลของจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมต่ออาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ  (THE EFFECT OF SUPPORTIVE PSYCHOTHERAPY WITH PARTICIPATING FAMILY  ON  DEPRESSIVE SYMPTOMS OF ELDERLY  PATIENTS WITH  MAJOR DEPRESSIVE DISORDER)'''ผู้วิจัย ร.อ.หญิง อุดมลักษณ์ ศรีเพ็ง(Udomlak Sripeng,R.N.) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รังสิมันต์ สุนทรไชยา (Rangsiman Soonthornchaiya, Ph.D.,R.N.)    ==
-
  == บทคัดย่อ ==
+
  == บทคัดย่อ ==การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบอาการซึมเศร้าของผู้ ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุก่อนและหลังได้รับจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกสถาบันเวชศาสตร์การบินกองทัพอากาศกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน ภายหลังการจับคู่และแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองได้รับการทำจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยประยุกต์แนวคิดของ Winston, Rosenthal  and Pinsker(2004)ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบ ถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบวัดระดับความสัมพันธ์เชิงบวกขณะอยู่ร่วมกับครอบครัว  เครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน แบบประเมินภาวะซึมเศร้าวิเคราะห์ความเที่ยงโดยสัมประสิทธิ์อัลฟาคอนบาร์ค ค่าความเที่ยงเท่ากับ.83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที(t-test)
-
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบอาการซึมเศร้าของผู้ ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุก่อนและหลังได้รับจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกสถาบันเวชศาสตร์การบินกองทัพอากาศกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน ภายหลังการจับคู่และแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองได้รับการทำจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยประยุกต์แนวคิดของ Winston, Rosenthal  and Pinsker(2004)ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบ ถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบวัดระดับความสัมพันธ์เชิงบวกขณะอยู่ร่วมกับครอบครัว  เครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน แบบประเมินภาวะซึมเศร้าวิเคราะห์ความเที่ยงโดยสัมประสิทธิ์อัลฟาคอนบาร์ค ค่าความเที่ยงเท่ากับ.83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที(t-test)
+
== '''ผลการวิจัยพบว่า'''
== '''ผลการวิจัยพบว่า'''

การปรับปรุง เมื่อ 08:40, 27 ธันวาคม 2555

ผลของจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมต่ออาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ (THE EFFECT OF SUPPORTIVE PSYCHOTHERAPY WITH PARTICIPATING FAMILY ON DEPRESSIVE SYMPTOMS OF ELDERLY PATIENTS WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER)ผู้วิจัย ร.อ.หญิง อุดมลักษณ์ ศรีเพ็ง(Udomlak Sripeng,R.N.) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รังสิมันต์ สุนทรไชยา (Rangsiman Soonthornchaiya, Ph.D.,R.N.)

== บทคัดย่อ ==การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบอาการซึมเศร้าของผู้ ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุก่อนและหลังได้รับจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกสถาบันเวชศาสตร์การบินกองทัพอากาศกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน ภายหลังการจับคู่และแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองได้รับการทำจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยประยุกต์แนวคิดของ Winston, Rosenthal  and Pinsker(2004)ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบ ถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบวัดระดับความสัมพันธ์เชิงบวกขณะอยู่ร่วมกับครอบครัว  เครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน แบบประเมินภาวะซึมเศร้าวิเคราะห์ความเที่ยงโดยสัมประสิทธิ์อัลฟาคอนบาร์ค ค่าความเที่ยงเท่ากับ.83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที(t-test)

== ผลการวิจัยพบว่า 1)อาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุภายหลังได้รับจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมต่ำกว่าก่อนได้รับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2)อาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุของกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ==

คำสำคัญ : อาการซึมเศร้า ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ และจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วม

เครื่องมือส่วนตัว