Soft side Based Alternative Schools Management: SBASM
จาก ChulaPedia
ล (Soft side ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Soft side Based Alternative Schools Management: SBASM) |
(→ผลของการบริหารโรงเรียนทางเลือกที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นฐาน) |
||
แถว 18: | แถว 18: | ||
การบริหารโรงเรียนทางเลือกที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นฐาน(Soft side Based Alternative Schools Management:SBASM) สำหรับโรงเรียนทางเลือก พัฒนาขึ้นจากแนวคิดการบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์และแนวคิดการศึกษามนุษยนิยม ประกอบด้วย 1) การวางแผน การบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นมาตรการในเรื่องความอยู่รอด ด้วยการเน้นคุณค่าของบุคลากรและหาศักยภาพและทักษะที่มีอยู่ในตัวบุคคลออกมา สร้างความร่วมมือข้อตกลงร่วมกัน แรงจูงใจและภาวะผู้นำเน้นที่ “มนุษย์” ในการบริหารจัดการ [15] มีการจัดหางบประมาณ บุคลากรและการสนับสนุนให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชน เป็นการคืนการศึกษาให้ชุมชน สร้างความเข้มแข็งให้ทุกภาคส่วนของสังคมซึ่งเป็นหนทางความอยู่รอด สร้างมาตรการความพอเพียงและแบ่งปันกันในโรงเรียน สร้างความตระหนักต่อโลกและรับผิดชอบต่อสังคม การปฏิบัติกิจกรรมใดๆ ต้องก่อให้เกิดเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน [16] เกิดการรับผิดชอบต่อสังคมและเกิดคุณค่าในตนเองนำไปสู่การยอมรับนับถือตนเองและผู้อื่นสอดคล้องกับ อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา [17] ที่พบว่าโรงเรียนทางเลือกจัดการศึกษาให้มนุษย์เกิดอุปนิสัยที่ดีงาม มีคุณธรรม มีการหยั่งรู้ด้วยตนเองและดึงศักยภาพที่มีอยู่ในตนเองออกมาใช้อย่างสร้างสรรค์ มีการรับใช้สังคมทั้งการปฏิบัติในโรงเรียนและการออกสู่สังคม ซึ่งการบริหารที่เน้นมนุษย์จะสัมพันธ์กับการพัฒนาที่ยั่งยืนสอดคล้องกับวรภัทร์ ภู่เจริญ [18] ที่กล่าวว่าการบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์ (Soft Side Management)เน้นจิตใจ กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ ปรับคนให้มีคุณลักษณะของความเก่ง ดี มีความสุข รักในอาชีพ มีจิตใจทำเพื่อส่วนรวม ตระหนักถึงโลกและภัยพิบัติ หยุดคิดเพื่อให้โลกกลับมาฟื้นตัว และการทำงานในองค์กรต้องให้รางวัลคนดี การตระหนักถึงผลของการใช้ทรัพยากรโลกและควรให้ผลต่อโลกกลับคืนเท่ากับที่นำมาใช้ ให้รู้จักพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน ระบบโรงเรียนต้องทำให้คนมีจิตอาสา มีน้ำใจ ไม่แย่งแข่งขัน มีการอบรมเรื่องโลกและสังคมและเข้าถึงจิตใจมนุษย์ให้ได้ 2) การดำเนินการ ที่ผู้บริหารและครูมีส่วนร่วมทั้งการระบุผลลัพธ์ที่เกิดจากการวางแผน กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จการบริหารและการศึกษาที่เน้นความเป็นมนุษย์ การระบุและเรียงลำดับความสำคัญของสิ่งที่ต้องทำ การศึกษาสภาพที่เป็นอยู่ของโรงเรียน จัดทำคู่มือครูเกี่ยวกับการบริหารและการศึกษาที่เน้นความเป็นมนุษย์เสริมแนวทางการทำงานและปฏิบัติตน การสร้างกลยุทธ์ในทีมงาน จัดหาทรัพยากรในและนอกชุมชนมาใช้ในโรงเรียนและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน Gill [5] ยังพบว่าการเชื่อมต่อที่แท้จริงระหว่างคุณค่ามนุษย์และการทำงานที่ได้ผลมีสิ่งที่เน้นในการบริหารได้แก่ บุคลากรมีคุณค่าเป็นของมีค่ามีความสามารถ การทำงานและครอบครัวจึงเป็นสิ่งเดียวกัน ให้ความเท่าเทียมสร้างสุขภาพจิตที่ดีมีความสุขกับงาน การมีส่วนร่วมและสื่อสารเพื่อให้ได้ข้อตกลงร่วมกัน มีกลยุทธ์ในการดำเนินงานขององค์การนำไปสู่บุคลากรที่ทำงานโดยอัตโนมัติ มีการกำจัดข้อคับข้องใจและร้องทุกข์ได้ องค์การเน้นการเปลี่ยนแปลงและร่วมกันเป็นเจ้าของ และธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ [19] ยังกล่าวถึงบทบาทที่เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ของครูและผู้บริหารได้แก่การมีวิสัยทัศน์ เข้าใจบริบท สร้างศรัทธาหาทีมงาน ทำงานโปร่งใส่ เท่าเทียม มีส่วนร่วมจากโรงเรียนและชุมชนทำงานเชิงรุกและสร้างเครือข่ายที่ต้องดำเนินการ ส่วนการให้ครูกระตุ้นผู้เรียนให้เรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องความพอเพียง เกียรติวรรณ อมาตยกุล [8] นำเสนอการศึกษามนุษยนิยมแบบเพร้าท์ (PROUT) ในโรงเรียนแบบนีโอฮิวแมนนิสเน้นการพึ่งพาตนเอง กิจกรรมในโรงเรียนจึงเน้นความพอเพียงและการช่วยเหลือสังคม โดยใช้ทักษะที่หลากหลายและวิธีการทางบวก นาถนัดดา ชื่นแสงเนตร์ [20] พบว่าโรงเรียนที่เน้นคุณค่ามนุษย์จะมีความรักความเมตตาของบุคลากรในโรงเรียน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสู่มนุษย์ที่สมบูรณ์ ปฏิบัติตนเป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนใหญ่ด้วยความสมถะพอเพียง ด้านความสนใจและความต้องการของผู้เรียนจะเน้นทักษะที่หลากหลายที่เชื่อมโยงกับความเป็นจริงในโลกปัจจุบัน เป็นปัจจัยความสำเร็จของการศึกษา [21] และธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ, จีรวรรณ จันพลา และเดชา ทวีไทย [19] พบว่าการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด ความแตกต่างของผู้เรียนให้ผู้เรียนพัฒนาทางร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา คุณธรรมและจริยธรรมอย่างสมดุล อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีเหตุผลเป็นกระบวนการจัดการศึกษาที่พัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ การใช้การเสริมแรงทางบวกโดยผู้นำเสริมแรงแผนโครงการตามพันธกิจความเชื่อ เป้าหมายและกฎการปฏิบัติประจำเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของโรงเรียนทางเลือกสอดคล้องกับ Swarts [22] และนอกจากนี้ Bush [23] ยังพบว่าองค์การเป็นผลผลิตของปฏิสัมพันธ์การแสดงความคิดเห็นของสมาชิกและการนำกันเองอย่างเป็นธรรมชาติ การเรียนรู้ด้วยตนเองและปัจเจกบุคคลเป็นสาระสำคัญในการบริหารจัดการ การที่ครูกระตุ้นผู้เรียนให้เรียนรู้ด้วยตนเอง ครูจัดการเรียนการสอนด้วยทักษะที่หลากหลายสอดคล้องกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ [1] ที่กล่าวว่ามิติพื้นฐานของธรรมชาติและสังคมเป็นความหลากหลายแสดงออกทางกระบวนทัศน์ปรัชญาความเชื่อ เนื้อหาสาระกระบวนการเรียนรู้ วิธีการวัดและมีการประเมินผลตามรูปแบบการบริหารการศึกษาทางเลือก ต้องมีทางเลือกของการศึกษาเรียนรู้และการจัดการที่หลากหลาย ภายใต้ความเชื่อมั่นว่ามนุษย์สามารถค้นพบศักยภาพในตนได้ในที่สุดแล้วนำมาทำประโยชน์ให้แก่ตนเองชุมชนสังคมและโลก การทำงานร่วมกันแบบช่วยเหลือเกื้อกูลกันสอดคล้องกับ Halfhill and Nielsen [12] ที่พบว่าการทำงานเป็นทีมอย่างเป็นระบบขององค์กรทางการศึกษา เป็นตัวอย่างของการวัดทักษะความเป็นมนุษย์(soft skill) และรุ่งฟ้า กิตติญาณุสันต์ [24] พบว่าการสอนนิสิตที่จะมาเป็นครูให้มีส่วนร่วมและวางแผนในการเรียน มีความรับผิดชอบในการทำงานจะเกิดแรงบันดาลใจช่วยเหลือสังคม การที่ครูได้แสดงความคิดเห็นต่อผู้บริหารโดยผู้บริหารมีการเปิดใจกว้างรับฟังปัญหาแก้ไขปรับปรุง และพร้อมกับให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมสอดคล้องกับ Bolman and Deal [25] และ Hoyle[26] ที่พบว่าเหตุการณ์เดียวกันในโรงเรียนมีความแตกต่างของการตีความระหว่างผู้บริหาร หัวหน้างาน ครู และบุคลากรอื่นๆขึ้นกับประสบการณ์ของแต่ละบุคคล การมองเนื้อหาสาระสำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อผู้บริหารเปิดกว้างทำความเข้าใจทำให้การจัดการมีประสิทธิภาพและเกิดผลที่ดี 3) การประเมินผล โรงเรียนมีการตรวจสอบผลงานตามแผนอย่างหลากหลายเน้นรูปแบบสภาพจริง การมีส่วนร่วมของโรงเรียนผู้บริหาร ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีการเผยแพร่ผ่านสื่ออย่างเป็นรูปธรรม Carmichael and Collins [4] ให้ความสำคัญกับมนุษย์และโลกว่าเป็นการปฏิบัติที่ทำให้เกิดความยั่งยืน ควรมีการรายงานผลการปฏิบัติที่ก่อให้เกิดความยั่งยืนและผลกำไรต่อสังคมและโลกเป็นการรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งผู้บริหารต้องพัฒนาให้เกิดเป็นจริยธรรมขององค์การขึ้นมา โรงเรียนรายงานผลต่อผู้เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงและคงการบริหารโรงเรียนที่ดีสอดคล้องกับนคร แสงนิล[27] ที่พบว่ามาตรฐานด้านธรรมาภิบาลของโรงเรียนควรมีการรายงานผลการดำเนินการในทุกด้านให้ผู้เกี่ยวข้องทราบและการทำงานควรใช้ระบบไร้กระดาษ โรงเรียนบรรลุผลตามแผนที่วางไว้ในเรื่องการบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์ มีการปรับปรุงและคงแนวทางการบริหารการศึกษาที่เน้นมนุษย์ของโรงเรียนเป็นต้นแบบแลกเปลี่ยนในกลุ่มการศึกษาทางเลือกและโรงเรียนอื่นๆ มีการตรวจสอบการวัดประเมินผลผู้เรียนในรูปแบบที่หลากหลายเน้นความพึงพอใจ ภาคภูมิใจ ความสุขของผู้เรียนและวัดผลทางสติปัญญาตามศักยภาพ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเองและให้สิทธิในการเลือกทดสอบตามความสามารถ เป็นการเข้าถึงความเป็นปัจเจกบุคคลของผู้เรียนแต่ละคน โรงเรียนทางเลือกทำให้องค์การมีความสามารถในการสร้างรูปแบบการจัดการที่หลากหลายดังที่ Nirenberg [28] ได้ค้นพบธรรมชาติขององค์การเป็นเหมือนสมาคมของมนุษย์ (people) มีมนุษย์เป็นหนทาง (means) นำไปสู่เป้าหมาย (end) จึงสนับสนุนเป้าหมายส่วนปัจเจกบุคคล (individual purposes) สมาชิกต้องการให้องค์การทำในสิ่งที่หลากหลาย [29] การวัดและประเมินผลที่หลากหลายจึงเป็นสิ่งสำคัญในโรงเรียนทางเลือก Grauwe [11] ยังพบว่ารูปแบบการประเมินตนเองของโรงเรียนที่บูรณาการเอาจริยธรรมและความพึงพอใจเน้นการคิดแบบประชาธิปไตยทำให้วิสัยทัศน์ของโรงเรียนแตกต่างออกไปจากแบบราชการแต่เป็นองค์กรที่มีชีวิต (living organization) ผลที่ได้จากการบริหารโรงเรียนตามแนวทางนี้ทำให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพและผลในเชิงบวกต่อโรงเรียนและผู้เรียนสอดคล้องกับรัชนี อมาตยกุล [30] ที่พบว่าการบริหารที่เน้นมนุษย์ทำให้โรงเรียนมีวัฒนธรรมของตนเอง ครู ผู้เรียน และผู้ปกครองมีความพอเพียง เรียบง่าย มีการยอมรับนับถือตนเองและผู้อื่น มีบรรยากาศทางบวกสังเกตจากการปฏิบัติงานของครูและผลที่ได้กับผู้เรียน โดยผู้เรียนมีร่างกายแข็งแรงสุขภาพจิตดี มีจิตสาธารณะ มีความรู้ทางวิชาการและวิชาชีวิตที่ดี ครูสอนหนังสือได้ดีขึ้น ผู้ปกครองมีความภาคภูมิใจในผลการจัดการศึกษาของโรงเรียนและตัวผู้เรียนเช่นเดียวกับธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ [19] ที่พบว่าการที่ผู้เรียนรู้จักเข้าใจตนเองและผู้อื่น มีจิตอาสาเป็นปัจจัยที่สร้างผู้เรียนสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ Griffin [31] ยังพบผลที่แสดงว่าโรงเรียนทางเลือกนั้นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากกว่าโรงเรียนแบบเดิม จากการที่ผู้ที่เรียนในโรงเรียนทางเลือกเรียนได้ผลเป็นที่น่าพึงพอใจมากกว่าเรียนในโรงเรียนแบบเดิม การสนับสนุนให้ใช้กระบวนการบริหารโรงเรียนที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นฐานที่เด่นชัดในโรงเรียนทางเลือก จะทำให้โรงเรียนมีทางเลือกในการบริหารจัดการตามแนวคิดปรัชญาที่หลากหลายทั้งการวางแผน การดำเนินการ และการประเมินผลก่อให้เกิดความอยู่รอด พอเพียง ตระหนักในโลกที่เราอยู่อาศัยเกิดความยั่งยืน โดยโรงเรียนทางเลือกมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ในตัวผู้เรียนและมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมและโลก | การบริหารโรงเรียนทางเลือกที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นฐาน(Soft side Based Alternative Schools Management:SBASM) สำหรับโรงเรียนทางเลือก พัฒนาขึ้นจากแนวคิดการบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์และแนวคิดการศึกษามนุษยนิยม ประกอบด้วย 1) การวางแผน การบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นมาตรการในเรื่องความอยู่รอด ด้วยการเน้นคุณค่าของบุคลากรและหาศักยภาพและทักษะที่มีอยู่ในตัวบุคคลออกมา สร้างความร่วมมือข้อตกลงร่วมกัน แรงจูงใจและภาวะผู้นำเน้นที่ “มนุษย์” ในการบริหารจัดการ [15] มีการจัดหางบประมาณ บุคลากรและการสนับสนุนให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชน เป็นการคืนการศึกษาให้ชุมชน สร้างความเข้มแข็งให้ทุกภาคส่วนของสังคมซึ่งเป็นหนทางความอยู่รอด สร้างมาตรการความพอเพียงและแบ่งปันกันในโรงเรียน สร้างความตระหนักต่อโลกและรับผิดชอบต่อสังคม การปฏิบัติกิจกรรมใดๆ ต้องก่อให้เกิดเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน [16] เกิดการรับผิดชอบต่อสังคมและเกิดคุณค่าในตนเองนำไปสู่การยอมรับนับถือตนเองและผู้อื่นสอดคล้องกับ อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา [17] ที่พบว่าโรงเรียนทางเลือกจัดการศึกษาให้มนุษย์เกิดอุปนิสัยที่ดีงาม มีคุณธรรม มีการหยั่งรู้ด้วยตนเองและดึงศักยภาพที่มีอยู่ในตนเองออกมาใช้อย่างสร้างสรรค์ มีการรับใช้สังคมทั้งการปฏิบัติในโรงเรียนและการออกสู่สังคม ซึ่งการบริหารที่เน้นมนุษย์จะสัมพันธ์กับการพัฒนาที่ยั่งยืนสอดคล้องกับวรภัทร์ ภู่เจริญ [18] ที่กล่าวว่าการบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์ (Soft Side Management)เน้นจิตใจ กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ ปรับคนให้มีคุณลักษณะของความเก่ง ดี มีความสุข รักในอาชีพ มีจิตใจทำเพื่อส่วนรวม ตระหนักถึงโลกและภัยพิบัติ หยุดคิดเพื่อให้โลกกลับมาฟื้นตัว และการทำงานในองค์กรต้องให้รางวัลคนดี การตระหนักถึงผลของการใช้ทรัพยากรโลกและควรให้ผลต่อโลกกลับคืนเท่ากับที่นำมาใช้ ให้รู้จักพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน ระบบโรงเรียนต้องทำให้คนมีจิตอาสา มีน้ำใจ ไม่แย่งแข่งขัน มีการอบรมเรื่องโลกและสังคมและเข้าถึงจิตใจมนุษย์ให้ได้ 2) การดำเนินการ ที่ผู้บริหารและครูมีส่วนร่วมทั้งการระบุผลลัพธ์ที่เกิดจากการวางแผน กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จการบริหารและการศึกษาที่เน้นความเป็นมนุษย์ การระบุและเรียงลำดับความสำคัญของสิ่งที่ต้องทำ การศึกษาสภาพที่เป็นอยู่ของโรงเรียน จัดทำคู่มือครูเกี่ยวกับการบริหารและการศึกษาที่เน้นความเป็นมนุษย์เสริมแนวทางการทำงานและปฏิบัติตน การสร้างกลยุทธ์ในทีมงาน จัดหาทรัพยากรในและนอกชุมชนมาใช้ในโรงเรียนและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน Gill [5] ยังพบว่าการเชื่อมต่อที่แท้จริงระหว่างคุณค่ามนุษย์และการทำงานที่ได้ผลมีสิ่งที่เน้นในการบริหารได้แก่ บุคลากรมีคุณค่าเป็นของมีค่ามีความสามารถ การทำงานและครอบครัวจึงเป็นสิ่งเดียวกัน ให้ความเท่าเทียมสร้างสุขภาพจิตที่ดีมีความสุขกับงาน การมีส่วนร่วมและสื่อสารเพื่อให้ได้ข้อตกลงร่วมกัน มีกลยุทธ์ในการดำเนินงานขององค์การนำไปสู่บุคลากรที่ทำงานโดยอัตโนมัติ มีการกำจัดข้อคับข้องใจและร้องทุกข์ได้ องค์การเน้นการเปลี่ยนแปลงและร่วมกันเป็นเจ้าของ และธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ [19] ยังกล่าวถึงบทบาทที่เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ของครูและผู้บริหารได้แก่การมีวิสัยทัศน์ เข้าใจบริบท สร้างศรัทธาหาทีมงาน ทำงานโปร่งใส่ เท่าเทียม มีส่วนร่วมจากโรงเรียนและชุมชนทำงานเชิงรุกและสร้างเครือข่ายที่ต้องดำเนินการ ส่วนการให้ครูกระตุ้นผู้เรียนให้เรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องความพอเพียง เกียรติวรรณ อมาตยกุล [8] นำเสนอการศึกษามนุษยนิยมแบบเพร้าท์ (PROUT) ในโรงเรียนแบบนีโอฮิวแมนนิสเน้นการพึ่งพาตนเอง กิจกรรมในโรงเรียนจึงเน้นความพอเพียงและการช่วยเหลือสังคม โดยใช้ทักษะที่หลากหลายและวิธีการทางบวก นาถนัดดา ชื่นแสงเนตร์ [20] พบว่าโรงเรียนที่เน้นคุณค่ามนุษย์จะมีความรักความเมตตาของบุคลากรในโรงเรียน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสู่มนุษย์ที่สมบูรณ์ ปฏิบัติตนเป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนใหญ่ด้วยความสมถะพอเพียง ด้านความสนใจและความต้องการของผู้เรียนจะเน้นทักษะที่หลากหลายที่เชื่อมโยงกับความเป็นจริงในโลกปัจจุบัน เป็นปัจจัยความสำเร็จของการศึกษา [21] และธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ, จีรวรรณ จันพลา และเดชา ทวีไทย [19] พบว่าการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด ความแตกต่างของผู้เรียนให้ผู้เรียนพัฒนาทางร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา คุณธรรมและจริยธรรมอย่างสมดุล อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีเหตุผลเป็นกระบวนการจัดการศึกษาที่พัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ การใช้การเสริมแรงทางบวกโดยผู้นำเสริมแรงแผนโครงการตามพันธกิจความเชื่อ เป้าหมายและกฎการปฏิบัติประจำเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของโรงเรียนทางเลือกสอดคล้องกับ Swarts [22] และนอกจากนี้ Bush [23] ยังพบว่าองค์การเป็นผลผลิตของปฏิสัมพันธ์การแสดงความคิดเห็นของสมาชิกและการนำกันเองอย่างเป็นธรรมชาติ การเรียนรู้ด้วยตนเองและปัจเจกบุคคลเป็นสาระสำคัญในการบริหารจัดการ การที่ครูกระตุ้นผู้เรียนให้เรียนรู้ด้วยตนเอง ครูจัดการเรียนการสอนด้วยทักษะที่หลากหลายสอดคล้องกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ [1] ที่กล่าวว่ามิติพื้นฐานของธรรมชาติและสังคมเป็นความหลากหลายแสดงออกทางกระบวนทัศน์ปรัชญาความเชื่อ เนื้อหาสาระกระบวนการเรียนรู้ วิธีการวัดและมีการประเมินผลตามรูปแบบการบริหารการศึกษาทางเลือก ต้องมีทางเลือกของการศึกษาเรียนรู้และการจัดการที่หลากหลาย ภายใต้ความเชื่อมั่นว่ามนุษย์สามารถค้นพบศักยภาพในตนได้ในที่สุดแล้วนำมาทำประโยชน์ให้แก่ตนเองชุมชนสังคมและโลก การทำงานร่วมกันแบบช่วยเหลือเกื้อกูลกันสอดคล้องกับ Halfhill and Nielsen [12] ที่พบว่าการทำงานเป็นทีมอย่างเป็นระบบขององค์กรทางการศึกษา เป็นตัวอย่างของการวัดทักษะความเป็นมนุษย์(soft skill) และรุ่งฟ้า กิตติญาณุสันต์ [24] พบว่าการสอนนิสิตที่จะมาเป็นครูให้มีส่วนร่วมและวางแผนในการเรียน มีความรับผิดชอบในการทำงานจะเกิดแรงบันดาลใจช่วยเหลือสังคม การที่ครูได้แสดงความคิดเห็นต่อผู้บริหารโดยผู้บริหารมีการเปิดใจกว้างรับฟังปัญหาแก้ไขปรับปรุง และพร้อมกับให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมสอดคล้องกับ Bolman and Deal [25] และ Hoyle[26] ที่พบว่าเหตุการณ์เดียวกันในโรงเรียนมีความแตกต่างของการตีความระหว่างผู้บริหาร หัวหน้างาน ครู และบุคลากรอื่นๆขึ้นกับประสบการณ์ของแต่ละบุคคล การมองเนื้อหาสาระสำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อผู้บริหารเปิดกว้างทำความเข้าใจทำให้การจัดการมีประสิทธิภาพและเกิดผลที่ดี 3) การประเมินผล โรงเรียนมีการตรวจสอบผลงานตามแผนอย่างหลากหลายเน้นรูปแบบสภาพจริง การมีส่วนร่วมของโรงเรียนผู้บริหาร ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีการเผยแพร่ผ่านสื่ออย่างเป็นรูปธรรม Carmichael and Collins [4] ให้ความสำคัญกับมนุษย์และโลกว่าเป็นการปฏิบัติที่ทำให้เกิดความยั่งยืน ควรมีการรายงานผลการปฏิบัติที่ก่อให้เกิดความยั่งยืนและผลกำไรต่อสังคมและโลกเป็นการรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งผู้บริหารต้องพัฒนาให้เกิดเป็นจริยธรรมขององค์การขึ้นมา โรงเรียนรายงานผลต่อผู้เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงและคงการบริหารโรงเรียนที่ดีสอดคล้องกับนคร แสงนิล[27] ที่พบว่ามาตรฐานด้านธรรมาภิบาลของโรงเรียนควรมีการรายงานผลการดำเนินการในทุกด้านให้ผู้เกี่ยวข้องทราบและการทำงานควรใช้ระบบไร้กระดาษ โรงเรียนบรรลุผลตามแผนที่วางไว้ในเรื่องการบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์ มีการปรับปรุงและคงแนวทางการบริหารการศึกษาที่เน้นมนุษย์ของโรงเรียนเป็นต้นแบบแลกเปลี่ยนในกลุ่มการศึกษาทางเลือกและโรงเรียนอื่นๆ มีการตรวจสอบการวัดประเมินผลผู้เรียนในรูปแบบที่หลากหลายเน้นความพึงพอใจ ภาคภูมิใจ ความสุขของผู้เรียนและวัดผลทางสติปัญญาตามศักยภาพ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเองและให้สิทธิในการเลือกทดสอบตามความสามารถ เป็นการเข้าถึงความเป็นปัจเจกบุคคลของผู้เรียนแต่ละคน โรงเรียนทางเลือกทำให้องค์การมีความสามารถในการสร้างรูปแบบการจัดการที่หลากหลายดังที่ Nirenberg [28] ได้ค้นพบธรรมชาติขององค์การเป็นเหมือนสมาคมของมนุษย์ (people) มีมนุษย์เป็นหนทาง (means) นำไปสู่เป้าหมาย (end) จึงสนับสนุนเป้าหมายส่วนปัจเจกบุคคล (individual purposes) สมาชิกต้องการให้องค์การทำในสิ่งที่หลากหลาย [29] การวัดและประเมินผลที่หลากหลายจึงเป็นสิ่งสำคัญในโรงเรียนทางเลือก Grauwe [11] ยังพบว่ารูปแบบการประเมินตนเองของโรงเรียนที่บูรณาการเอาจริยธรรมและความพึงพอใจเน้นการคิดแบบประชาธิปไตยทำให้วิสัยทัศน์ของโรงเรียนแตกต่างออกไปจากแบบราชการแต่เป็นองค์กรที่มีชีวิต (living organization) ผลที่ได้จากการบริหารโรงเรียนตามแนวทางนี้ทำให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพและผลในเชิงบวกต่อโรงเรียนและผู้เรียนสอดคล้องกับรัชนี อมาตยกุล [30] ที่พบว่าการบริหารที่เน้นมนุษย์ทำให้โรงเรียนมีวัฒนธรรมของตนเอง ครู ผู้เรียน และผู้ปกครองมีความพอเพียง เรียบง่าย มีการยอมรับนับถือตนเองและผู้อื่น มีบรรยากาศทางบวกสังเกตจากการปฏิบัติงานของครูและผลที่ได้กับผู้เรียน โดยผู้เรียนมีร่างกายแข็งแรงสุขภาพจิตดี มีจิตสาธารณะ มีความรู้ทางวิชาการและวิชาชีวิตที่ดี ครูสอนหนังสือได้ดีขึ้น ผู้ปกครองมีความภาคภูมิใจในผลการจัดการศึกษาของโรงเรียนและตัวผู้เรียนเช่นเดียวกับธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ [19] ที่พบว่าการที่ผู้เรียนรู้จักเข้าใจตนเองและผู้อื่น มีจิตอาสาเป็นปัจจัยที่สร้างผู้เรียนสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ Griffin [31] ยังพบผลที่แสดงว่าโรงเรียนทางเลือกนั้นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากกว่าโรงเรียนแบบเดิม จากการที่ผู้ที่เรียนในโรงเรียนทางเลือกเรียนได้ผลเป็นที่น่าพึงพอใจมากกว่าเรียนในโรงเรียนแบบเดิม การสนับสนุนให้ใช้กระบวนการบริหารโรงเรียนที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นฐานที่เด่นชัดในโรงเรียนทางเลือก จะทำให้โรงเรียนมีทางเลือกในการบริหารจัดการตามแนวคิดปรัชญาที่หลากหลายทั้งการวางแผน การดำเนินการ และการประเมินผลก่อให้เกิดความอยู่รอด พอเพียง ตระหนักในโลกที่เราอยู่อาศัยเกิดความยั่งยืน โดยโรงเรียนทางเลือกมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ในตัวผู้เรียนและมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมและโลก | ||
- | |||
- | |||
- | |||
- | |||
- | |||
- | |||
- | |||
- | |||
- | แหล่งอ้างอิง | + | == แหล่งอ้างอิง == |
+ | |||
[1] สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2553). ข้อเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการศึกษาทางเลือก. ใน เอกสารประกอบการประชุมโครงการศึกษาวิจัย การศึกษาทางเลือกเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ. หน้า 1-2. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. | [1] สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2553). ข้อเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการศึกษาทางเลือก. ใน เอกสารประกอบการประชุมโครงการศึกษาวิจัย การศึกษาทางเลือกเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ. หน้า 1-2. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. | ||
[2] ปกป้อง จันวิทย์ และสุนทร ตันมันทอง. (2555). โรงเรียนทางเลือกกับทางเลือกในการศึกษาของประชาชน. ในเอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจำปี 2554 เรื่อง ยกเครื่องการศึกษาไทย: สู่การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง. หน้า 24-40. กรุงเทพฯ: ทีดีอาร์ไอ. | [2] ปกป้อง จันวิทย์ และสุนทร ตันมันทอง. (2555). โรงเรียนทางเลือกกับทางเลือกในการศึกษาของประชาชน. ในเอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจำปี 2554 เรื่อง ยกเครื่องการศึกษาไทย: สู่การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง. หน้า 24-40. กรุงเทพฯ: ทีดีอาร์ไอ. |
การปรับปรุง เมื่อ 11:44, 24 กุมภาพันธ์ 2556
เนื้อหา |
SOFT SIDE BASED ALTERNATIVE SCHOOLS MANAGEMENT: SBASM/การบริหารโรงเรียนทางเลือกที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นฐาน
Soft side Based หรือ การบริหารที่เน้นมนุษย์เป็นฐานคืออะไร
การบริหารโรงเรียนทางเลือกที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นฐาน (Soft Side Based Alternative Schools Management: SBASM) มีขั้นตอนของกระบวนการที่ประกอบด้วย 1) การวางแผน โดยวางมาตรการความอยู่รอด ความพอเพียง ความตระหนักต่อโลก ความยั่งยืน การรับใช้สังคม การยอมรับนับถือตนเองและผู้อื่น 2) การดำเนินการ โดยมีการระบุผลลัพธ์ที่จะเกิดจากการศึกษาที่เน้นมนุษย์ กำหนดตัวชี้วัด เรียงลำดับความสำคัญ ศึกษาสภาพปัจจุบัน จัดทำคู่มือแนวทางการศึกษาที่เน้นมนุษย์ สร้างกลยุทธ์ในทีม จัดหาทรัพยากร ทำงานช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ดำเนินการความพอเพียงและช่วยเหลือสังคม ครูและผู้เรียนมีส่วนร่วมและได้แสดงความคิดเห็นต่อการจัดการของโรงเรียน 3) การประเมินผลโดยการตรวจสอบผลงานที่เป็นปัจจุบัน รายงานผลตามสภาพจริง การบรรลุผลตามแผนที่เน้นความเป็นมนุษย์ของโรงเรียน นำมาปรับปรุงแนวทางการบริหารและการศึกษาที่เน้นมนุษย์เป็นต้นแบบเผยแพร่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการศึกษาทางเลือก และประเมินผลผู้เรียนในรูปแบบที่หลากหลายเกิดผลของความสุข ความภาคภูมิใจและความสนุกสนานที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต
การบริหารที่เน้นมนุษย์เป็นฐานในการศึกษาทางเลือก
การศึกษาทางเลือกนำเสนอรูปแบบการศึกษาที่เป็นทางเลือกให้เป็นหนทางแก้ไขวิกฤตทางการศึกษาของไทย มีการสร้างนวัตกรรมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่องและได้รับการสนับสนุนจากภาคประชาชน มีกฎหมายรองรับการจัดการศึกษาทางเลือกในกฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 มาตรา 49 (3) รับรองการจัดการศึกษาทางเลือกให้ได้รับการคุ้มครองและส่งเสริมที่เหมาะสมจากภาครัฐ นำไปสู่การพัฒนาผู้เรียน และการปฏิรูปการศึกษารอบที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) การศึกษามีทางเลือกที่หลากหลายเน้นการพัฒนาในเชิงคุณค่ามนุษย์เท่ากับการพัฒนากำลังคนทางเศรษฐกิจทำให้คนไทยเกิดความรู้ที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจศักยภาพที่มีอยู่ของตนสามารถนำออกมาใช้อย่างเต็มความสามารถ ด้วยเหตุนี้การจัดการศึกษาทางเลือกทั้งในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย[1] จึงเป็นทางเลือกสำหรับผู้เรียนและผู้ปกครอง แม้โรงเรียนทางเลือกจะแตกต่างกันในโครงสร้างทฤษฎีการจัดการศึกษาแต่มีเป้าหมายที่เป็นหนึ่งเดียวกันคือ มีวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ [2] ในปี พ.ศ. 2553 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาสร้างวิสัยทัศน์การปฏิรูปการศึกษาระยะแรกพ.ศ.2552-2554 มุ่งเน้นให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพสนับสนุนการจัดทำแผนงานรีบด่วน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษาของภาคส่วนต่างๆให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมเน้นการลดบทบาทของรัฐในการจัดการศึกษามาเป็นผู้กำกับนโยบาย แผน มาตรฐานการศึกษา นิเทศติดตามประเมินผลการจัดการศึกษารวมทั้งการพัฒนาต้นแบบ จัดให้มีการส่งเสริมสนับสนุนยกย่องขยายผลการปฏิบัติที่ดีของโรงเรียนเพื่อให้การจัดการศึกษาและการเรียนรู้มีคุณภาพ โรงเรียนทางเลือกได้ร่วมพัฒนาการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์แก่ผู้เรียนในรูปแบบที่หลากหลายมีการจัดทำแผนการบริหารจัดการการระดมทรัพยากร การเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมโลกและการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆเป็นการสนับสนุนการจัดการศึกษาอย่างเปิดกว้างและส่งเสริมรูปแบบการจัดการศึกษาทางเลือกในระบบโรงเรียนของภาครัฐ เอกชน องค์กรเอกชน ภาคประชาชน มีการออกแบบหลักสูตร การวัดผลประเมินผลที่หลากหลายผลักดันขับเคลื่อนการศึกษาทางเลือกเชิงนโยบายและสร้างองค์ความรู้ใหม่ [1] การบริหารโรงเรียนทางเลือกเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทางเลือกและทางหลัก(Mainstreams) จะนำไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการสร้างคุณค่ามนุษย์ในการบริหารงาน และการจัดการศึกษาของโรงเรียนนำไปสู่การจัดกระบวนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้มีศักยภาพตามเป้าหมายของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
การบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์หรือ Soft Side Management สอดคล้องกับแนวทางการบริหารจัดการการศึกษาทางเลือกเน้นการทำงานในองค์การที่เห็นว่า มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีปฏิสัมพันธ์ทางบวกต่อกันในการทำงานและเป็นไปตามระบบธรรมชาติสร้างผลผลิตที่ได้เกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติ[3] เป็นการบริหารที่มีความใส่ใจต่อโลก (Planet) มนุษย์ (People) และผลที่ได้(Profit) ดังที่ Elkinton[4] ได้นำเสนอใน Triple Bottom line เช่นเดียวกัน รวมถึงการคำนึงถึงความเป็นธรรมและเท่าเทียม ความพอเพียง ความอยู่รอดและความยั่งยืน นำให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทำงานที่มีการนำศักยภาพที่มีอยู่ในตัวมนุษย์ออกมาใช้ ลดการสั่งการจากผู้บังคับบัญชาแต่ให้บุคลากรได้ร่วมคิดร่วมทำมากขึ้น เป็นการทำงานที่ทุกคนมีส่วนร่วมใส่ใจต่อมนุษย์และผลกระทบต่อสรรพสิ่ง การบริหารทรัพยากรมนุษย์ดังที่ Gill [5]ได้นำเสนอชี้ให้เห็นว่าการบริหารทรัพยากรมนุษย์นั้นต้องบริหารด้วยการให้ค่าความเป็นมนุษย์ (Soft HRM) ด้วยแนวคิดที่ว่าในองค์การพนักงานและบุคลากรจะมีคุณค่าความเป็นมนุษย์ ซึ่งเป็นของมีค่าและพนักงานทุกคนมีความสามารถในตนเอง ในโรงเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Child centered) มักมีการจัดการศึกษาแนวมนุษยนิยม (Humanistic education) ซึ่งอยู่บนฐานทฤษฎีมนุษยนิยม (Humanistic theory) ของ Maslow [6] และ Rogers [7] เพื่อสร้างภาพพจน์เชิงบวกแก่ตนเอง ใช้การเสริมแรงทางบวกให้ผู้เรียนมีเกียรติและศักดิ์ศรีนำไปสู่การเป็นผู้รู้จักพอเพียง แสดงคุณลักษณะทางด้านจิตใจของบุคคลที่เห็นคุณค่าในตนเองและเกิดการยอมรับนับถือตนเองและผู้อื่น [8] มีความเสียสละจากการใช้ศักยภาพของตนอย่างสร้างสรรค์สัมพันธ์กับโลกและสังคม การบริหารโรงเรียนที่ประกอบด้วยการวางแผนที่มีการบูรณาการอยู่ในส่วนของทีมในการบริหาร [9] การดำเนินการมีการสร้างการยอมรับนับถือตนเองของครูในการทำงาน การสร้างแรงจูงใจทางบวก การฝึกอบรม การสื่อสาร การนำให้ปฏิบัติ การทำงานเป็นทีม การตัดสินใจและการประสานงานช่วยเหลือเกื้อกูลกัน [10] และประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย [11] โดย Halfhill and Nielsen [12] พบว่าโรงเรียนควรมีการเน้นทักษะส่วนบุคคลหรือด้านมนุษย์มากกว่าในอดีตและมีการสาธิตทักษะที่เน้นความเป็นมนุษย์ (soft skill) แก่ผู้เรียนด้วย ผู้วิจัยจึงพัฒนากระบวนการบริหารโรงเรียนทางเลือกตามแนวคิดการบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์และแนวคิดการศึกษามนุษยนิยมเพื่อใช้ในการบริหารโรงเรียนและพัฒนามนุษย์เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 และสังคมอนาคตที่จะวิวัฒน์ต่อไปด้วยการสร้างมนุษย์ที่มีคุณค่ามนุษย์ที่มีแต่การเกื้อกูลกัน นำพาสังคมให้สงบสุข
ผลของการบริหารโรงเรียนทางเลือกที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นฐาน
การบริหารโรงเรียนทางเลือกที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นฐาน(Soft side Based Alternative Schools Management:SBASM) สำหรับโรงเรียนทางเลือก พัฒนาขึ้นจากแนวคิดการบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์และแนวคิดการศึกษามนุษยนิยม ประกอบด้วย 1) การวางแผน การบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นมาตรการในเรื่องความอยู่รอด ด้วยการเน้นคุณค่าของบุคลากรและหาศักยภาพและทักษะที่มีอยู่ในตัวบุคคลออกมา สร้างความร่วมมือข้อตกลงร่วมกัน แรงจูงใจและภาวะผู้นำเน้นที่ “มนุษย์” ในการบริหารจัดการ [15] มีการจัดหางบประมาณ บุคลากรและการสนับสนุนให้ตรงกับความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชน เป็นการคืนการศึกษาให้ชุมชน สร้างความเข้มแข็งให้ทุกภาคส่วนของสังคมซึ่งเป็นหนทางความอยู่รอด สร้างมาตรการความพอเพียงและแบ่งปันกันในโรงเรียน สร้างความตระหนักต่อโลกและรับผิดชอบต่อสังคม การปฏิบัติกิจกรรมใดๆ ต้องก่อให้เกิดเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน [16] เกิดการรับผิดชอบต่อสังคมและเกิดคุณค่าในตนเองนำไปสู่การยอมรับนับถือตนเองและผู้อื่นสอดคล้องกับ อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา [17] ที่พบว่าโรงเรียนทางเลือกจัดการศึกษาให้มนุษย์เกิดอุปนิสัยที่ดีงาม มีคุณธรรม มีการหยั่งรู้ด้วยตนเองและดึงศักยภาพที่มีอยู่ในตนเองออกมาใช้อย่างสร้างสรรค์ มีการรับใช้สังคมทั้งการปฏิบัติในโรงเรียนและการออกสู่สังคม ซึ่งการบริหารที่เน้นมนุษย์จะสัมพันธ์กับการพัฒนาที่ยั่งยืนสอดคล้องกับวรภัทร์ ภู่เจริญ [18] ที่กล่าวว่าการบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์ (Soft Side Management)เน้นจิตใจ กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ ปรับคนให้มีคุณลักษณะของความเก่ง ดี มีความสุข รักในอาชีพ มีจิตใจทำเพื่อส่วนรวม ตระหนักถึงโลกและภัยพิบัติ หยุดคิดเพื่อให้โลกกลับมาฟื้นตัว และการทำงานในองค์กรต้องให้รางวัลคนดี การตระหนักถึงผลของการใช้ทรัพยากรโลกและควรให้ผลต่อโลกกลับคืนเท่ากับที่นำมาใช้ ให้รู้จักพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน ระบบโรงเรียนต้องทำให้คนมีจิตอาสา มีน้ำใจ ไม่แย่งแข่งขัน มีการอบรมเรื่องโลกและสังคมและเข้าถึงจิตใจมนุษย์ให้ได้ 2) การดำเนินการ ที่ผู้บริหารและครูมีส่วนร่วมทั้งการระบุผลลัพธ์ที่เกิดจากการวางแผน กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จการบริหารและการศึกษาที่เน้นความเป็นมนุษย์ การระบุและเรียงลำดับความสำคัญของสิ่งที่ต้องทำ การศึกษาสภาพที่เป็นอยู่ของโรงเรียน จัดทำคู่มือครูเกี่ยวกับการบริหารและการศึกษาที่เน้นความเป็นมนุษย์เสริมแนวทางการทำงานและปฏิบัติตน การสร้างกลยุทธ์ในทีมงาน จัดหาทรัพยากรในและนอกชุมชนมาใช้ในโรงเรียนและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน Gill [5] ยังพบว่าการเชื่อมต่อที่แท้จริงระหว่างคุณค่ามนุษย์และการทำงานที่ได้ผลมีสิ่งที่เน้นในการบริหารได้แก่ บุคลากรมีคุณค่าเป็นของมีค่ามีความสามารถ การทำงานและครอบครัวจึงเป็นสิ่งเดียวกัน ให้ความเท่าเทียมสร้างสุขภาพจิตที่ดีมีความสุขกับงาน การมีส่วนร่วมและสื่อสารเพื่อให้ได้ข้อตกลงร่วมกัน มีกลยุทธ์ในการดำเนินงานขององค์การนำไปสู่บุคลากรที่ทำงานโดยอัตโนมัติ มีการกำจัดข้อคับข้องใจและร้องทุกข์ได้ องค์การเน้นการเปลี่ยนแปลงและร่วมกันเป็นเจ้าของ และธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ [19] ยังกล่าวถึงบทบาทที่เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ของครูและผู้บริหารได้แก่การมีวิสัยทัศน์ เข้าใจบริบท สร้างศรัทธาหาทีมงาน ทำงานโปร่งใส่ เท่าเทียม มีส่วนร่วมจากโรงเรียนและชุมชนทำงานเชิงรุกและสร้างเครือข่ายที่ต้องดำเนินการ ส่วนการให้ครูกระตุ้นผู้เรียนให้เรียนรู้ด้วยตนเองเรื่องความพอเพียง เกียรติวรรณ อมาตยกุล [8] นำเสนอการศึกษามนุษยนิยมแบบเพร้าท์ (PROUT) ในโรงเรียนแบบนีโอฮิวแมนนิสเน้นการพึ่งพาตนเอง กิจกรรมในโรงเรียนจึงเน้นความพอเพียงและการช่วยเหลือสังคม โดยใช้ทักษะที่หลากหลายและวิธีการทางบวก นาถนัดดา ชื่นแสงเนตร์ [20] พบว่าโรงเรียนที่เน้นคุณค่ามนุษย์จะมีความรักความเมตตาของบุคลากรในโรงเรียน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสู่มนุษย์ที่สมบูรณ์ ปฏิบัติตนเป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนใหญ่ด้วยความสมถะพอเพียง ด้านความสนใจและความต้องการของผู้เรียนจะเน้นทักษะที่หลากหลายที่เชื่อมโยงกับความเป็นจริงในโลกปัจจุบัน เป็นปัจจัยความสำเร็จของการศึกษา [21] และธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ, จีรวรรณ จันพลา และเดชา ทวีไทย [19] พบว่าการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัด ความแตกต่างของผู้เรียนให้ผู้เรียนพัฒนาทางร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา คุณธรรมและจริยธรรมอย่างสมดุล อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีเหตุผลเป็นกระบวนการจัดการศึกษาที่พัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ การใช้การเสริมแรงทางบวกโดยผู้นำเสริมแรงแผนโครงการตามพันธกิจความเชื่อ เป้าหมายและกฎการปฏิบัติประจำเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของโรงเรียนทางเลือกสอดคล้องกับ Swarts [22] และนอกจากนี้ Bush [23] ยังพบว่าองค์การเป็นผลผลิตของปฏิสัมพันธ์การแสดงความคิดเห็นของสมาชิกและการนำกันเองอย่างเป็นธรรมชาติ การเรียนรู้ด้วยตนเองและปัจเจกบุคคลเป็นสาระสำคัญในการบริหารจัดการ การที่ครูกระตุ้นผู้เรียนให้เรียนรู้ด้วยตนเอง ครูจัดการเรียนการสอนด้วยทักษะที่หลากหลายสอดคล้องกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ [1] ที่กล่าวว่ามิติพื้นฐานของธรรมชาติและสังคมเป็นความหลากหลายแสดงออกทางกระบวนทัศน์ปรัชญาความเชื่อ เนื้อหาสาระกระบวนการเรียนรู้ วิธีการวัดและมีการประเมินผลตามรูปแบบการบริหารการศึกษาทางเลือก ต้องมีทางเลือกของการศึกษาเรียนรู้และการจัดการที่หลากหลาย ภายใต้ความเชื่อมั่นว่ามนุษย์สามารถค้นพบศักยภาพในตนได้ในที่สุดแล้วนำมาทำประโยชน์ให้แก่ตนเองชุมชนสังคมและโลก การทำงานร่วมกันแบบช่วยเหลือเกื้อกูลกันสอดคล้องกับ Halfhill and Nielsen [12] ที่พบว่าการทำงานเป็นทีมอย่างเป็นระบบขององค์กรทางการศึกษา เป็นตัวอย่างของการวัดทักษะความเป็นมนุษย์(soft skill) และรุ่งฟ้า กิตติญาณุสันต์ [24] พบว่าการสอนนิสิตที่จะมาเป็นครูให้มีส่วนร่วมและวางแผนในการเรียน มีความรับผิดชอบในการทำงานจะเกิดแรงบันดาลใจช่วยเหลือสังคม การที่ครูได้แสดงความคิดเห็นต่อผู้บริหารโดยผู้บริหารมีการเปิดใจกว้างรับฟังปัญหาแก้ไขปรับปรุง และพร้อมกับให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมสอดคล้องกับ Bolman and Deal [25] และ Hoyle[26] ที่พบว่าเหตุการณ์เดียวกันในโรงเรียนมีความแตกต่างของการตีความระหว่างผู้บริหาร หัวหน้างาน ครู และบุคลากรอื่นๆขึ้นกับประสบการณ์ของแต่ละบุคคล การมองเนื้อหาสาระสำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อผู้บริหารเปิดกว้างทำความเข้าใจทำให้การจัดการมีประสิทธิภาพและเกิดผลที่ดี 3) การประเมินผล โรงเรียนมีการตรวจสอบผลงานตามแผนอย่างหลากหลายเน้นรูปแบบสภาพจริง การมีส่วนร่วมของโรงเรียนผู้บริหาร ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีการเผยแพร่ผ่านสื่ออย่างเป็นรูปธรรม Carmichael and Collins [4] ให้ความสำคัญกับมนุษย์และโลกว่าเป็นการปฏิบัติที่ทำให้เกิดความยั่งยืน ควรมีการรายงานผลการปฏิบัติที่ก่อให้เกิดความยั่งยืนและผลกำไรต่อสังคมและโลกเป็นการรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งผู้บริหารต้องพัฒนาให้เกิดเป็นจริยธรรมขององค์การขึ้นมา โรงเรียนรายงานผลต่อผู้เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงและคงการบริหารโรงเรียนที่ดีสอดคล้องกับนคร แสงนิล[27] ที่พบว่ามาตรฐานด้านธรรมาภิบาลของโรงเรียนควรมีการรายงานผลการดำเนินการในทุกด้านให้ผู้เกี่ยวข้องทราบและการทำงานควรใช้ระบบไร้กระดาษ โรงเรียนบรรลุผลตามแผนที่วางไว้ในเรื่องการบริหารที่เน้นความเป็นมนุษย์ มีการปรับปรุงและคงแนวทางการบริหารการศึกษาที่เน้นมนุษย์ของโรงเรียนเป็นต้นแบบแลกเปลี่ยนในกลุ่มการศึกษาทางเลือกและโรงเรียนอื่นๆ มีการตรวจสอบการวัดประเมินผลผู้เรียนในรูปแบบที่หลากหลายเน้นความพึงพอใจ ภาคภูมิใจ ความสุขของผู้เรียนและวัดผลทางสติปัญญาตามศักยภาพ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเองและให้สิทธิในการเลือกทดสอบตามความสามารถ เป็นการเข้าถึงความเป็นปัจเจกบุคคลของผู้เรียนแต่ละคน โรงเรียนทางเลือกทำให้องค์การมีความสามารถในการสร้างรูปแบบการจัดการที่หลากหลายดังที่ Nirenberg [28] ได้ค้นพบธรรมชาติขององค์การเป็นเหมือนสมาคมของมนุษย์ (people) มีมนุษย์เป็นหนทาง (means) นำไปสู่เป้าหมาย (end) จึงสนับสนุนเป้าหมายส่วนปัจเจกบุคคล (individual purposes) สมาชิกต้องการให้องค์การทำในสิ่งที่หลากหลาย [29] การวัดและประเมินผลที่หลากหลายจึงเป็นสิ่งสำคัญในโรงเรียนทางเลือก Grauwe [11] ยังพบว่ารูปแบบการประเมินตนเองของโรงเรียนที่บูรณาการเอาจริยธรรมและความพึงพอใจเน้นการคิดแบบประชาธิปไตยทำให้วิสัยทัศน์ของโรงเรียนแตกต่างออกไปจากแบบราชการแต่เป็นองค์กรที่มีชีวิต (living organization) ผลที่ได้จากการบริหารโรงเรียนตามแนวทางนี้ทำให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพและผลในเชิงบวกต่อโรงเรียนและผู้เรียนสอดคล้องกับรัชนี อมาตยกุล [30] ที่พบว่าการบริหารที่เน้นมนุษย์ทำให้โรงเรียนมีวัฒนธรรมของตนเอง ครู ผู้เรียน และผู้ปกครองมีความพอเพียง เรียบง่าย มีการยอมรับนับถือตนเองและผู้อื่น มีบรรยากาศทางบวกสังเกตจากการปฏิบัติงานของครูและผลที่ได้กับผู้เรียน โดยผู้เรียนมีร่างกายแข็งแรงสุขภาพจิตดี มีจิตสาธารณะ มีความรู้ทางวิชาการและวิชาชีวิตที่ดี ครูสอนหนังสือได้ดีขึ้น ผู้ปกครองมีความภาคภูมิใจในผลการจัดการศึกษาของโรงเรียนและตัวผู้เรียนเช่นเดียวกับธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ [19] ที่พบว่าการที่ผู้เรียนรู้จักเข้าใจตนเองและผู้อื่น มีจิตอาสาเป็นปัจจัยที่สร้างผู้เรียนสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ Griffin [31] ยังพบผลที่แสดงว่าโรงเรียนทางเลือกนั้นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากกว่าโรงเรียนแบบเดิม จากการที่ผู้ที่เรียนในโรงเรียนทางเลือกเรียนได้ผลเป็นที่น่าพึงพอใจมากกว่าเรียนในโรงเรียนแบบเดิม การสนับสนุนให้ใช้กระบวนการบริหารโรงเรียนที่เน้นความเป็นมนุษย์เป็นฐานที่เด่นชัดในโรงเรียนทางเลือก จะทำให้โรงเรียนมีทางเลือกในการบริหารจัดการตามแนวคิดปรัชญาที่หลากหลายทั้งการวางแผน การดำเนินการ และการประเมินผลก่อให้เกิดความอยู่รอด พอเพียง ตระหนักในโลกที่เราอยู่อาศัยเกิดความยั่งยืน โดยโรงเรียนทางเลือกมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ในตัวผู้เรียนและมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมและโลก
แหล่งอ้างอิง
[1] สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2553). ข้อเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการศึกษาทางเลือก. ใน เอกสารประกอบการประชุมโครงการศึกษาวิจัย การศึกษาทางเลือกเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะ. หน้า 1-2. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. [2] ปกป้อง จันวิทย์ และสุนทร ตันมันทอง. (2555). โรงเรียนทางเลือกกับทางเลือกในการศึกษาของประชาชน. ในเอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจำปี 2554 เรื่อง ยกเครื่องการศึกษาไทย: สู่การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง. หน้า 24-40. กรุงเทพฯ: ทีดีอาร์ไอ. [3] Wheatley, Margaret. (1999). Leadership and the New Science: Discovering Order in a Chaotic World. CA: Berrett- Koehler. [4] Carmichael, Jan.; Collins Chris.; Emsell Peter.; & Haydon Jon. (2011). Leadership and Management Development. Oxford: Oxford University Press. [5] Gill, Carol. (1999, November). Use of Hard and soft models of HRM to illustrate the gap between rhetoric and reality in workforce management. RMITbusiness. 99(3): 1-50. [6] Maslow, Abraham. (1979, Summer). Humanistic Education. Journal of Humanistic Psychology. 9(3): 13-25. [7] Rogers, Carl. (1989). The necessary and sufficient conditions of therapeutic personality change. In H. Kirshenbaum & V.L. Henderson(Eds.). Boston: Houghton Mifflin. [8] เกียรติวรรณ อมาตยกุล. (2551). ชีวิตที่พอเพียงแบบเพร้าท์. ใน แนวคิดและทฤษฎีที่น่ารู้ทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน (หน้า 57-76). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [9] Clarksean Lidia.; & Pelton Mary H. (2002, September). Safe schools: a reality check: safe school planning is a systematic process that should be woven into the culture of a school rather than being. 32(1). Retrieved March 26, 2012, from: http://findarticles.com/ p/articles [10] Lunenburg, Fred C.; & Ornstein, Allan C. (2004). Educational Administration. CA: Wadswarth/ Thomson Learning. [11] Grauwe, Anton D.; & Naidoo, Jordan P. (2004). School Evaluation for Quality Improvement. In Meeting of the Asians Network of Training and Research Institution in Education Planning 2-4 July 2002. Paris: International Institute for Education Planning UNESCO. [12] Halfhill, Terry R.; & Nielsen, Taj M. (2007). Quantifying the “Softer Side” of Management Education: an Example Using Teamwork Competencies. Journal of Management Education. 31(1). Retrieved, March 20, 2012, from http://www.jme.sagepub.com [13] สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพฯ: บริษัทธรรมดาเพรส. [14] Kotter, John. (1996). Leading Change. Massachusetts: Harvard Business School Publishing. [15] Legge, K. (1995). Human Resource Management: Rhetoric and Realities. Basingstoke: Macmillan. [16] Elkington, John. (1998). Cannibals with Forks: the Triple Bottom Line of 21st Century Business. Capstone: New Society Publishers. [17] อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา. (2546). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการคุณค่าของความเป็นมนุษย์โดยอิงแนวคิดการเรียนรู้จากการหยั่งรู้ด้วยตนเอง. ปริญญานิพนธ์ ค.ด. (หลักสูตรและการสอน). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [18] วรภัทร์ ภู่เจริญ. (2552). Productivity วิถีพุทธ. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. [19] ธีรศักดิ์ อุ่นอารมย์เลิศ, จุรีวรรณ จันพลา และเดชา ทวีไทย. (2553). การสังเคราะห์ความรู้เกี่ยวกับการนิยาม/แนวความคิดและปัจจัยที่เสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์: การขับเคลื่อนจิตวิญญาณของผู้เรียนด้วยพลังทางการศึกษา. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 1(2). 16-17. [20] นาดนัดดา ชื่นแสงเนตร์. (2550). การศึกษาเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ของโรงเรียนสัตยาไส. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. (สาขาปรัชญา). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. [21] Madriverschool. (2009). Alternative school planning process: Stakeholder update. Retrieved May 19,2012, from http://www.madriverschools.org/Blogs/ Alternative School Planning.ppt#256,1. [22] Swarts, Leon. (2002). Alternative Education Accountability: Kentucky's Approach. Retrieved March 20, 2012. from http://ici.umn.edu/products/impact/163/ prof5.html [23] Bush, Tony. (2003). Theories of Educational Leadership and Management. 3rd ed. London: SAGE Publications Ltd. [24] รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์. (2555). กระบวนการคิด ความรู้สึก และนิสิตต่อวิชาชีพครู: การเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานในตน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 23(1). 96-97. [25] Bolman Lee; & Deal Terrence. (1997). Reframing Organizations: Artistry, Choice and Leadership. 2th ed. CA: Jossey-Bass. [26] Hoyle, David E. (1981). The Process of Management, E323 Management of the school, Block 3, Part 1. Buckingham: Open University Press. [27] นคร แสงนิล, ชูชาติ พ่วงสมจิตร์, นิตยา ภัสสรศิริ และวิเชียร เกตุสิงห์. (2553). การเทียบเคียงการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานสำหรับโรงเรียนระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 21(2). 37-38. [28] Nirenberg, John. (1977). A Comparison of the Management Systems of Traditional and Alternative Public High Schools. Educational Administration Quarterly, 13(1) (January): 86-104. [29] Gray, H.L. (1982). A perspective on organization theory in H.L.Gray (ed.). The Management of Education Institutions. Lewes: Falmer Press. [30] รัชนี อมาตยกุล. (2552). การประยุกต์ใช้แนวคิดนีโอฮิวแมนนิสในการบริหารโรงเรียน: กรณีศึกษาโรงเรียน อมาตยกุล. ปริญญานิพนธ์ ศษ.ม. (บริหารการศึกษา). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. [31] Griffin, Barbara L. (1993). Administrators Can Use Alternative Schools to Meet Student Needs. Journal of School Leadership, 3(4). Retrieved, March 20, 2012, from http://www.eric.ed.gov