ประสบการณ์การเป็นผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจ

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ประสบการณ์การเป็นผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับกา…')
 
แถว 1: แถว 1:
'''ประสบการณ์การเป็นผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจ'''  
'''ประสบการณ์การเป็นผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจ'''  
-
 
(EXPERIENCES OF BEING AN ADULT PATIENT RECEIVING VENTILATOR)  
(EXPERIENCES OF BEING AN ADULT PATIENT RECEIVING VENTILATOR)  
ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลวที่ต้องได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจเป็นความเจ็บป่วยวิกฤต คุกคามต่อชีวิต โดยเฉพาะผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่อยู่ในช่วงการทำงาน แสวงหาความเจริญก้าวหน้าในชีวิต และความตายเป็นสิ่งที่ไม่คาดหวัง การเข้าใจความคิด ความรู้สึกของผู้ป่วยกลุ่มนี้โดยตรง จะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการให้การพยาบาลที่สอดคล้องและตรงความต้องการของผู้ป่วย การศึกษาเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาการตีความ (Hermeneutic phenomenology) ตามแนวคิดของ Heidegger ครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจ คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 12 คน โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจจากภาวะหายใจล้มเหลวเป็นเวลาอย่างน้อย 6 วัน เป็นการใส่ท่อช่วยหายใจครั้งแรก โดยผ่านการรักษาตัวในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่ง รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และบันทึกเทป นำข้อมูลมาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ van Manen
ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลวที่ต้องได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจเป็นความเจ็บป่วยวิกฤต คุกคามต่อชีวิต โดยเฉพาะผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่อยู่ในช่วงการทำงาน แสวงหาความเจริญก้าวหน้าในชีวิต และความตายเป็นสิ่งที่ไม่คาดหวัง การเข้าใจความคิด ความรู้สึกของผู้ป่วยกลุ่มนี้โดยตรง จะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการให้การพยาบาลที่สอดคล้องและตรงความต้องการของผู้ป่วย การศึกษาเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาการตีความ (Hermeneutic phenomenology) ตามแนวคิดของ Heidegger ครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจ คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 12 คน โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจจากภาวะหายใจล้มเหลวเป็นเวลาอย่างน้อย 6 วัน เป็นการใส่ท่อช่วยหายใจครั้งแรก โดยผ่านการรักษาตัวในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่ง รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และบันทึกเทป นำข้อมูลมาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ van Manen
-
 
ผลการศึกษาประสบการณ์ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจ พบประเด็นจากงานวิจัย ดังนี้ 1) เครื่องช่วยหายใจเสมือนเป็นปอด  ช่วยหายใจยามไม่มีแรง 2) ใส่เครื่องช่วยหายใจ  เหมือนคนใกล้ตาย หาที่พึ่งทางใจช่วยคุ้มครอง 3) ทรมานกับอาการเจ็บปวด แต่ต้องทำใจอยู่กับมันให้ได้ 4) เจ็บเหมือนจะขาดใจ เวลาไอและดูดเสมหะ 5) รู้สึกขัดใจ สื่อสารอะไร ไม่มีใครเข้าใจความต้องการ 6) จะหลับตาลงได้อย่างไร ในเมื่อใจมีแต่ความกลัว 7) ได้รับบริการดี เริ่มมีกำลังใจ รู้สึกว่าตนเองน่าจะปลอดภัย และ 8) คิดถึงอนาคต อยากหาย มีกำลังใจสู้ต่อ
ผลการศึกษาประสบการณ์ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจ พบประเด็นจากงานวิจัย ดังนี้ 1) เครื่องช่วยหายใจเสมือนเป็นปอด  ช่วยหายใจยามไม่มีแรง 2) ใส่เครื่องช่วยหายใจ  เหมือนคนใกล้ตาย หาที่พึ่งทางใจช่วยคุ้มครอง 3) ทรมานกับอาการเจ็บปวด แต่ต้องทำใจอยู่กับมันให้ได้ 4) เจ็บเหมือนจะขาดใจ เวลาไอและดูดเสมหะ 5) รู้สึกขัดใจ สื่อสารอะไร ไม่มีใครเข้าใจความต้องการ 6) จะหลับตาลงได้อย่างไร ในเมื่อใจมีแต่ความกลัว 7) ได้รับบริการดี เริ่มมีกำลังใจ รู้สึกว่าตนเองน่าจะปลอดภัย และ 8) คิดถึงอนาคต อยากหาย มีกำลังใจสู้ต่อ
นางสาวมาณี  ชัยวีระเดช    รหัสประจำตัว 5377593236
นางสาวมาณี  ชัยวีระเดช    รหัสประจำตัว 5377593236
-
 
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : ผศ.ดร.นรลักขณ์  เอื้อกิจ
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : ผศ.ดร.นรลักขณ์  เอื้อกิจ
-
 
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม :  ผศ.ดร.อารีย์วรรณ  อ่วมตานี
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม :  ผศ.ดร.อารีย์วรรณ  อ่วมตานี

รุ่นปัจจุบันของ 07:17, 24 กรกฎาคม 2556

ประสบการณ์การเป็นผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจ (EXPERIENCES OF BEING AN ADULT PATIENT RECEIVING VENTILATOR)


ผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลวที่ต้องได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจเป็นความเจ็บป่วยวิกฤต คุกคามต่อชีวิต โดยเฉพาะผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่อยู่ในช่วงการทำงาน แสวงหาความเจริญก้าวหน้าในชีวิต และความตายเป็นสิ่งที่ไม่คาดหวัง การเข้าใจความคิด ความรู้สึกของผู้ป่วยกลุ่มนี้โดยตรง จะเป็นข้อมูลพื้นฐานในการให้การพยาบาลที่สอดคล้องและตรงความต้องการของผู้ป่วย การศึกษาเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาการตีความ (Hermeneutic phenomenology) ตามแนวคิดของ Heidegger ครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจ คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 12 คน โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจจากภาวะหายใจล้มเหลวเป็นเวลาอย่างน้อย 6 วัน เป็นการใส่ท่อช่วยหายใจครั้งแรก โดยผ่านการรักษาตัวในหออภิบาลผู้ป่วยวิกฤตของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่ง รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และบันทึกเทป นำข้อมูลมาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ van Manen ผลการศึกษาประสบการณ์ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ที่ได้รับการใส่เครื่องช่วยหายใจ พบประเด็นจากงานวิจัย ดังนี้ 1) เครื่องช่วยหายใจเสมือนเป็นปอด ช่วยหายใจยามไม่มีแรง 2) ใส่เครื่องช่วยหายใจ เหมือนคนใกล้ตาย หาที่พึ่งทางใจช่วยคุ้มครอง 3) ทรมานกับอาการเจ็บปวด แต่ต้องทำใจอยู่กับมันให้ได้ 4) เจ็บเหมือนจะขาดใจ เวลาไอและดูดเสมหะ 5) รู้สึกขัดใจ สื่อสารอะไร ไม่มีใครเข้าใจความต้องการ 6) จะหลับตาลงได้อย่างไร ในเมื่อใจมีแต่ความกลัว 7) ได้รับบริการดี เริ่มมีกำลังใจ รู้สึกว่าตนเองน่าจะปลอดภัย และ 8) คิดถึงอนาคต อยากหาย มีกำลังใจสู้ต่อ

นางสาวมาณี ชัยวีระเดช รหัสประจำตัว 5377593236 อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก : ผศ.ดร.นรลักขณ์ เอื้อกิจ อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม : ผศ.ดร.อารีย์วรรณ อ่วมตานี

เครื่องมือส่วนตัว