สุขภาพ

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'กิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างพ…')
 
แถว 1: แถว 1:
-
กิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง
+
'''กิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง'''
การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง  มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสและการแพทย์วิถีธรรมเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของตำรวจตระเวนชายแดน  และศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสและการการแพทย์วิถีธรรมเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของตำรวจตระเวนชายแดน กลุ่มตัวอย่าง คือ ตำรวจตระเวนชายแดน  30  คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย  แบบประเมินความต้องการด้านสุขภาพ  แผนการจัดกิจกรรม  แบบทดสอบความรู้ด้านสุขภาพ  แบบวัดทัศนคติด้านสุขภาพ  แบบสอบถามการปฏิบัติตนด้านสุขภาพ  และ แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (xˉ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  (S.D.)  การเปรียบเทียบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบ (t-test) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05
การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง  มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสและการแพทย์วิถีธรรมเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของตำรวจตระเวนชายแดน  และศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสและการการแพทย์วิถีธรรมเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของตำรวจตระเวนชายแดน กลุ่มตัวอย่าง คือ ตำรวจตระเวนชายแดน  30  คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย  แบบประเมินความต้องการด้านสุขภาพ  แผนการจัดกิจกรรม  แบบทดสอบความรู้ด้านสุขภาพ  แบบวัดทัศนคติด้านสุขภาพ  แบบสอบถามการปฏิบัติตนด้านสุขภาพ  และ แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (xˉ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  (S.D.)  การเปรียบเทียบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบ (t-test) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05
ผลการวิจัยพบว่า   
ผลการวิจัยพบว่า   

รุ่นปัจจุบันของ 08:03, 7 สิงหาคม 2556

กิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสและการแพทย์วิถีธรรมเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของตำรวจตระเวนชายแดน และศึกษาผลของการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสและการการแพทย์วิถีธรรมเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของตำรวจตระเวนชายแดน กลุ่มตัวอย่าง คือ ตำรวจตระเวนชายแดน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบประเมินความต้องการด้านสุขภาพ แผนการจัดกิจกรรม แบบทดสอบความรู้ด้านสุขภาพ แบบวัดทัศนคติด้านสุขภาพ แบบสอบถามการปฏิบัติตนด้านสุขภาพ และ แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (xˉ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การเปรียบเทียบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบ (t-test) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัยพบว่า การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสและการแพทย์วิถีธรรมเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของตำรวจตระเวนชายแดน และศึกษาผลการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสและการแพทย์วิถีธรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ ตำรวจตระเวนชายแดน 30 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบประเมินความต้องการด้านสุขภาพ แผนการจัดกิจกรรม แบบทดสอบความรู้ด้านสุขภาพ แบบวัดทัศนคติด้านสุขภาพ แบบสอบถามการปฏิบัติตนด้านสุขภาพ และ แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (xˉ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การเปรียบเทียบความแตกต่างด้วยสถิติทดสอบ (t-test) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสและการแพทย์วิถีธรรมเพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของตำรวจตระเวนชายแดน มีกระบวนการจัดกิจกรรมตามแนวคิดนีโอฮิวแมนนิสดังนี้ 1) การสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ 2) สร้างภาพพจน์ด้านบวกให้กับตนเอง 3) การบรรยายความรู้ 4) การสาธิต 5) การฝึกปฏิบัติ 6)การประเมินผลการเรียนรู้ 2. ผลการจัดกิจกรรมพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และมีทัศนคติสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลอง และมีการปฏิบัติตนด้านสุขภาพดีขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 80% มีความพอใจในกิจกรรมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก โดยมีความพึงพอใจมากที่สุดคือ การนำความรู้ไปปฏิบัติได้จริง

เครื่องมือส่วนตัว