พลาสติกชีวภาพจากพอลิแลกทิกแอซิด พอลิบิวทิลีนซักซิเนต และไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลส

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
แถว 1: แถว 1:
-
  พลาสติกชีวภาพจากพอลิแลกทิกแอซิด พอลิบิวทิลีนซักซิเนต และไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลส สามารถเตรียมได้โดยการผสมแบบหลอมเหลวในเครื่องอัดรีดแบบเกลียวคู่ตามด้วยการอัดแบบ เพื่อปรับปรุงสมบัติเชิงกลและ
+
 
 +
    พลาสติกชีวภาพจากพอลิแลกทิกแอซิด พอลิบิวทิลีนซักซิเนต และไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลส สามารถเตรียมได้โดยการผสมแบบหลอมเหลวในเครื่องอัดรีดแบบเกลียวคู่ตามด้วยการอัดแบบ เพื่อปรับปรุงสมบัติเชิงกลและ
สมบัติทางความร้อนของพอลิแลกทิกแอซิด สมบัติเชิงกลด้านความทนแรงกระแทกและความทนแรงดึง สัณฐานวิทยา พฤติกรรมทางความร้อนซึ่งรวมถึงพฤติกรรมการเกิดผลึกและเสถียรภาพทางความร้อน โครงสร้างผลึก โครง
สมบัติทางความร้อนของพอลิแลกทิกแอซิด สมบัติเชิงกลด้านความทนแรงกระแทกและความทนแรงดึง สัณฐานวิทยา พฤติกรรมทางความร้อนซึ่งรวมถึงพฤติกรรมการเกิดผลึกและเสถียรภาพทางความร้อน โครงสร้างผลึก โครง
สร้างทางเคมิ และการย่อยสลายทางชีวภาพถูกตรวจสอบด้วยเครื่องทดสอบแรงกระแทก เครื่องทดสอบยูนิเวอร์แซล กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด เทคนิคดิฟเฟอเรนเชียลสแกนนิงคาลอริเมทรี การวิเคราะห์ภายใต้
สร้างทางเคมิ และการย่อยสลายทางชีวภาพถูกตรวจสอบด้วยเครื่องทดสอบแรงกระแทก เครื่องทดสอบยูนิเวอร์แซล กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด เทคนิคดิฟเฟอเรนเชียลสแกนนิงคาลอริเมทรี การวิเคราะห์ภายใต้
ความร้อน (ทีจีเอ) เครื่องเอ็กซเรย์ดิฟแฟรกโทมิเตอร์ เทคนิคฟูเรียร์แทรนสฟอร์ม สเปกโทรสโกปี และทดสอบด้วยการฝังดิน จากผลการทดสอบพบว่า พอลิเมอร์ผสมพอลิแลกทิกแอซิด/พอลิบิวทิลีนซักซิเนตที่อัตราส่วน  
ความร้อน (ทีจีเอ) เครื่องเอ็กซเรย์ดิฟแฟรกโทมิเตอร์ เทคนิคฟูเรียร์แทรนสฟอร์ม สเปกโทรสโกปี และทดสอบด้วยการฝังดิน จากผลการทดสอบพบว่า พอลิเมอร์ผสมพอลิแลกทิกแอซิด/พอลิบิวทิลีนซักซิเนตที่อัตราส่วน  
70/30 มีการยืดตัว ณ จุดขาดสูงที่สุด (243.9%) เมื่อเปรียบเทียบกับของพอลิแลกทิกแอซิด (2.8%) ซึ่งแสดงให้เห็นชัดว่า พอลิบิวทิลีนซักซิเนตมีผลอย่างมากในการเพิ่มการยืดตัว ณ จุดขาด และความทนแรงกระแทก
70/30 มีการยืดตัว ณ จุดขาดสูงที่สุด (243.9%) เมื่อเปรียบเทียบกับของพอลิแลกทิกแอซิด (2.8%) ซึ่งแสดงให้เห็นชัดว่า พอลิบิวทิลีนซักซิเนตมีผลอย่างมากในการเพิ่มการยืดตัว ณ จุดขาด และความทนแรงกระแทก
-
ของพอลิแลกทิกแอซิด แต่สูญเสียความทนแรงดึง ความแข็งตึง และเสถียรภาพทางความร้อน นอกจากนี้ กล้องจุลทรรศอิเล็กตรอนแบบส่องกราดแสดงความเข้ากันได้ดีกว่าของพอลิเมอร์ผสมที่อัตราส่วนผสมนี้ ดังนั้น จึงนำพอลิ
+
ของพอลิแลกทิกแอซิด แต่สูญเสียความทนแรงดึง ความแข็งตึง และเสถียรภาพทางความร้อน นอกจากนี้ กล้องจุลทรรศอิเล็กตรอนแบบส่องกราดแสดงความเข้ากันได้ดีกว่าของพอลิเมอร์ผสมที่อัตราส่วนผสมนี้ ดังนั้น จึงนำ
-
เมอร์ผสมที่อัตราส่วน 70/30 มาเติมไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสทั้งที่ใส่และไม่ใส่สารต่อสายโซ่ทางการค้า (จองคริล)ซึ่งไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสที่ใช้ในงานวิจัยนี้ถูกสกัดจากเศษผ้าฝ้ายด้วยการไฮโดรไลซ์ด้วยกรด โดยใช้
+
พอลิเมอร์ผสมที่อัตราส่วน 70/30 มาเติมไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสทั้งที่ใส่และไม่ใส่สารต่อสายโซ่ทางการค้า (จองคริล)ซึ่งไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสที่ใช้ในงานวิจัยนี้ถูกสกัดจากเศษผ้าฝ้ายด้วยการไฮโดรไลซ์ด้วยกรด โดยใช้
ไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสที่เตรียมได้ 5, 10 และ 15 ส่วน/พอลิเมอร์ผสมร้อยส่วน และจองคริล 0.5 และ 1 ส่วน/พอลิเมอร์ผสมร้อยส่วน ซึ่งข้อมูลของทีจีเอแสดงว่าการใส่ไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสและจองคริลมีผลทำ
ไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสที่เตรียมได้ 5, 10 และ 15 ส่วน/พอลิเมอร์ผสมร้อยส่วน และจองคริล 0.5 และ 1 ส่วน/พอลิเมอร์ผสมร้อยส่วน ซึ่งข้อมูลของทีจีเอแสดงว่าการใส่ไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสและจองคริลมีผลทำ
ให้เสถียรภาพทางความร้อนของคอมพอสิตมีค่าเพิ่มขึ้น นอกจากนี้คอมพอสิตที่อัตราส่วน 70/30/5 และจองคริล 1 ส่วน มีความทนแรงกระแทกสูงที่สุด (14.8 กิโลจูล/ตารางเมตร)ขณะที่การยืดตัว ณ จุดขาด (77.2%) มี
ให้เสถียรภาพทางความร้อนของคอมพอสิตมีค่าเพิ่มขึ้น นอกจากนี้คอมพอสิตที่อัตราส่วน 70/30/5 และจองคริล 1 ส่วน มีความทนแรงกระแทกสูงที่สุด (14.8 กิโลจูล/ตารางเมตร)ขณะที่การยืดตัว ณ จุดขาด (77.2%) มี
ค่ายอมรับได้
ค่ายอมรับได้

การปรับปรุง เมื่อ 07:00, 5 มิถุนายน 2557

   พลาสติกชีวภาพจากพอลิแลกทิกแอซิด พอลิบิวทิลีนซักซิเนต และไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลส สามารถเตรียมได้โดยการผสมแบบหลอมเหลวในเครื่องอัดรีดแบบเกลียวคู่ตามด้วยการอัดแบบ เพื่อปรับปรุงสมบัติเชิงกลและ

สมบัติทางความร้อนของพอลิแลกทิกแอซิด สมบัติเชิงกลด้านความทนแรงกระแทกและความทนแรงดึง สัณฐานวิทยา พฤติกรรมทางความร้อนซึ่งรวมถึงพฤติกรรมการเกิดผลึกและเสถียรภาพทางความร้อน โครงสร้างผลึก โครง สร้างทางเคมิ และการย่อยสลายทางชีวภาพถูกตรวจสอบด้วยเครื่องทดสอบแรงกระแทก เครื่องทดสอบยูนิเวอร์แซล กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด เทคนิคดิฟเฟอเรนเชียลสแกนนิงคาลอริเมทรี การวิเคราะห์ภายใต้ ความร้อน (ทีจีเอ) เครื่องเอ็กซเรย์ดิฟแฟรกโทมิเตอร์ เทคนิคฟูเรียร์แทรนสฟอร์ม สเปกโทรสโกปี และทดสอบด้วยการฝังดิน จากผลการทดสอบพบว่า พอลิเมอร์ผสมพอลิแลกทิกแอซิด/พอลิบิวทิลีนซักซิเนตที่อัตราส่วน 70/30 มีการยืดตัว ณ จุดขาดสูงที่สุด (243.9%) เมื่อเปรียบเทียบกับของพอลิแลกทิกแอซิด (2.8%) ซึ่งแสดงให้เห็นชัดว่า พอลิบิวทิลีนซักซิเนตมีผลอย่างมากในการเพิ่มการยืดตัว ณ จุดขาด และความทนแรงกระแทก ของพอลิแลกทิกแอซิด แต่สูญเสียความทนแรงดึง ความแข็งตึง และเสถียรภาพทางความร้อน นอกจากนี้ กล้องจุลทรรศอิเล็กตรอนแบบส่องกราดแสดงความเข้ากันได้ดีกว่าของพอลิเมอร์ผสมที่อัตราส่วนผสมนี้ ดังนั้น จึงนำ พอลิเมอร์ผสมที่อัตราส่วน 70/30 มาเติมไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสทั้งที่ใส่และไม่ใส่สารต่อสายโซ่ทางการค้า (จองคริล)ซึ่งไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสที่ใช้ในงานวิจัยนี้ถูกสกัดจากเศษผ้าฝ้ายด้วยการไฮโดรไลซ์ด้วยกรด โดยใช้ ไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสที่เตรียมได้ 5, 10 และ 15 ส่วน/พอลิเมอร์ผสมร้อยส่วน และจองคริล 0.5 และ 1 ส่วน/พอลิเมอร์ผสมร้อยส่วน ซึ่งข้อมูลของทีจีเอแสดงว่าการใส่ไมโครคริสตัลลีนเซลลูโลสและจองคริลมีผลทำ ให้เสถียรภาพทางความร้อนของคอมพอสิตมีค่าเพิ่มขึ้น นอกจากนี้คอมพอสิตที่อัตราส่วน 70/30/5 และจองคริล 1 ส่วน มีความทนแรงกระแทกสูงที่สุด (14.8 กิโลจูล/ตารางเมตร)ขณะที่การยืดตัว ณ จุดขาด (77.2%) มี ค่ายอมรับได้

เครื่องมือส่วนตัว