ธารณี
จาก ChulaPedia
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ' == ธารณี == ธารณี หรือบางครั้งว่า ธาริณี เป็นคำนามเพ…') |
ล (→ธารณี) |
||
แถว 3: | แถว 3: | ||
ธารณี หรือบางครั้งว่า ธาริณี เป็นคำนามเพศหญิง ที่สร้างมาจากกริยาธาตุ ธฤ แปลว่า ทรงไว้ ถือไว้ คงไว้ ตามรูปศัพท์ ธารณี แปลว่า "สิ่งที่ทรงไว้" ในทางวรรณคดีพุทธศาสนา ธารณี เป็นชื่อเรียก วรรณคดีประเภทหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ของพุทธศาสนาตันตระ หรือ วัชรยาน ซี่งให้ความสำคัญแก่ มนตร์ หรือ มันตระ(ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์)ในการประกอบพิธีกรรมก็ดี หรือ ในการปฏิบัติเจริญสมาธิ ธารณี จะประกอบไปด้วย ถ้อยคำที่เชื่อกันว่า เป็นถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ คำที่ใช้ในธารณี ส่วนมากไม่สามารถอ่าน แปล หรือ เข้าใจความหมายได้ชัดเจน ถึงแม้จะมีคำที่สามารถเข้าใจความหมายได้ ความนั้นก็ไม่ปะติดปะต่อกัน ยกตัวอย่างเช่น อเข นเข วินเข พนฺเธ วราเณ จปเล วเข วขเน วขิเณ อขิเน นขิเน วหเล ภเค ภคนฺทเร วเศ วศวรฺตินิ สฺวาหา (ธารณีบทหนึ่งใน มหาสาหสฺรปฺรมรฺทนี, Yutaka Iwamoto. Kleinere Dharani Texte.Kyoto 1937, p.5) การสาธายธารณี เชื่อกันว่า มีผลแก่ผู้สาธายาย เช่น ก่อให้เกิดความเจริญงอกงาม ปราศจากโรค และภัยพิบัติ ป้องกันภูตผีปีศาจ ได้รับอุดมเพศ คือ การเกิดเป็นบุรุษ เพื่อที่ว่าจะได้เป็นพระโพธิสัตว์ และ บรรลุเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยเร็ว หมดสิ้นจากกรรมที่จะต้องเกิดเป็นสตรีเพศ เป็นต้น ธารณีในแง่ของการปกปักรักษานี้ สามารถเทียบได้กับ พระปริตของศาสนาพุทธเถรวาท นอกจากธารณีที่เป็นงานวรรณคดีพุทธศาสนาแล้ว ธารณีหลายบท ยังได้รับการนับถือบูชาเป็นอย่างยิ่ง ถึงขนาดได้รับการยกขึ้นมาเป็น เทวี เช่น ใน ธรรมธาตุวาคีศวรมัณฑละ กล่าวถึง ชื่อเทวี ซึ่งเป็นบุคคลาธิษฐาน ของธารณี ๑๒ บท มีการพรรณนาวรรณะ (สีผิวกาย)กับสิ่งที่นางทรง หรือ ถือไว้ด้วย เช่น นางสุมตี นางรัตโนลกา นางอุษณีษวิชยา ฯลฯ | ธารณี หรือบางครั้งว่า ธาริณี เป็นคำนามเพศหญิง ที่สร้างมาจากกริยาธาตุ ธฤ แปลว่า ทรงไว้ ถือไว้ คงไว้ ตามรูปศัพท์ ธารณี แปลว่า "สิ่งที่ทรงไว้" ในทางวรรณคดีพุทธศาสนา ธารณี เป็นชื่อเรียก วรรณคดีประเภทหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ของพุทธศาสนาตันตระ หรือ วัชรยาน ซี่งให้ความสำคัญแก่ มนตร์ หรือ มันตระ(ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์)ในการประกอบพิธีกรรมก็ดี หรือ ในการปฏิบัติเจริญสมาธิ ธารณี จะประกอบไปด้วย ถ้อยคำที่เชื่อกันว่า เป็นถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ คำที่ใช้ในธารณี ส่วนมากไม่สามารถอ่าน แปล หรือ เข้าใจความหมายได้ชัดเจน ถึงแม้จะมีคำที่สามารถเข้าใจความหมายได้ ความนั้นก็ไม่ปะติดปะต่อกัน ยกตัวอย่างเช่น อเข นเข วินเข พนฺเธ วราเณ จปเล วเข วขเน วขิเณ อขิเน นขิเน วหเล ภเค ภคนฺทเร วเศ วศวรฺตินิ สฺวาหา (ธารณีบทหนึ่งใน มหาสาหสฺรปฺรมรฺทนี, Yutaka Iwamoto. Kleinere Dharani Texte.Kyoto 1937, p.5) การสาธายธารณี เชื่อกันว่า มีผลแก่ผู้สาธายาย เช่น ก่อให้เกิดความเจริญงอกงาม ปราศจากโรค และภัยพิบัติ ป้องกันภูตผีปีศาจ ได้รับอุดมเพศ คือ การเกิดเป็นบุรุษ เพื่อที่ว่าจะได้เป็นพระโพธิสัตว์ และ บรรลุเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยเร็ว หมดสิ้นจากกรรมที่จะต้องเกิดเป็นสตรีเพศ เป็นต้น ธารณีในแง่ของการปกปักรักษานี้ สามารถเทียบได้กับ พระปริตของศาสนาพุทธเถรวาท นอกจากธารณีที่เป็นงานวรรณคดีพุทธศาสนาแล้ว ธารณีหลายบท ยังได้รับการนับถือบูชาเป็นอย่างยิ่ง ถึงขนาดได้รับการยกขึ้นมาเป็น เทวี เช่น ใน ธรรมธาตุวาคีศวรมัณฑละ กล่าวถึง ชื่อเทวี ซึ่งเป็นบุคคลาธิษฐาน ของธารณี ๑๒ บท มีการพรรณนาวรรณะ (สีผิวกาย)กับสิ่งที่นางทรง หรือ ถือไว้ด้วย เช่น นางสุมตี นางรัตโนลกา นางอุษณีษวิชยา ฯลฯ | ||
+ | |||
+ | [[ไฟล์:chande-usnisa.jpg]] |
รุ่นปัจจุบันของ 04:05, 25 กุมภาพันธ์ 2554
ธารณี
ธารณี หรือบางครั้งว่า ธาริณี เป็นคำนามเพศหญิง ที่สร้างมาจากกริยาธาตุ ธฤ แปลว่า ทรงไว้ ถือไว้ คงไว้ ตามรูปศัพท์ ธารณี แปลว่า "สิ่งที่ทรงไว้" ในทางวรรณคดีพุทธศาสนา ธารณี เป็นชื่อเรียก วรรณคดีประเภทหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ของพุทธศาสนาตันตระ หรือ วัชรยาน ซี่งให้ความสำคัญแก่ มนตร์ หรือ มันตระ(ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์)ในการประกอบพิธีกรรมก็ดี หรือ ในการปฏิบัติเจริญสมาธิ ธารณี จะประกอบไปด้วย ถ้อยคำที่เชื่อกันว่า เป็นถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ คำที่ใช้ในธารณี ส่วนมากไม่สามารถอ่าน แปล หรือ เข้าใจความหมายได้ชัดเจน ถึงแม้จะมีคำที่สามารถเข้าใจความหมายได้ ความนั้นก็ไม่ปะติดปะต่อกัน ยกตัวอย่างเช่น อเข นเข วินเข พนฺเธ วราเณ จปเล วเข วขเน วขิเณ อขิเน นขิเน วหเล ภเค ภคนฺทเร วเศ วศวรฺตินิ สฺวาหา (ธารณีบทหนึ่งใน มหาสาหสฺรปฺรมรฺทนี, Yutaka Iwamoto. Kleinere Dharani Texte.Kyoto 1937, p.5) การสาธายธารณี เชื่อกันว่า มีผลแก่ผู้สาธายาย เช่น ก่อให้เกิดความเจริญงอกงาม ปราศจากโรค และภัยพิบัติ ป้องกันภูตผีปีศาจ ได้รับอุดมเพศ คือ การเกิดเป็นบุรุษ เพื่อที่ว่าจะได้เป็นพระโพธิสัตว์ และ บรรลุเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยเร็ว หมดสิ้นจากกรรมที่จะต้องเกิดเป็นสตรีเพศ เป็นต้น ธารณีในแง่ของการปกปักรักษานี้ สามารถเทียบได้กับ พระปริตของศาสนาพุทธเถรวาท นอกจากธารณีที่เป็นงานวรรณคดีพุทธศาสนาแล้ว ธารณีหลายบท ยังได้รับการนับถือบูชาเป็นอย่างยิ่ง ถึงขนาดได้รับการยกขึ้นมาเป็น เทวี เช่น ใน ธรรมธาตุวาคีศวรมัณฑละ กล่าวถึง ชื่อเทวี ซึ่งเป็นบุคคลาธิษฐาน ของธารณี ๑๒ บท มีการพรรณนาวรรณะ (สีผิวกาย)กับสิ่งที่นางทรง หรือ ถือไว้ด้วย เช่น นางสุมตี นางรัตโนลกา นางอุษณีษวิชยา ฯลฯ