พิษงูเขียวหางไหม้
จาก ChulaPedia
(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'พิษของงูเขียวหางไหม้ จะทำให้เกิดอาการเฉพาะที่ ค…') |
|||
แถว 6: | แถว 6: | ||
เมื่อผู้ป่วยได้รับเซรุ่มต้านพิษงู จะสามารถแก้ฤทธิ์ตามระบบเลือดได้อย่างรวดเร็ว โดยเซรุ่มจะช่วยให้อาการบวม ยุบเร็วกว่ายา ในวันที่ 1 และ 2 แต่หลังจากวันที่ 3 อัตราการยุบจะเท่ากับยา ส่วนอาการปวดจะไม่มีความแตกต่างกัน | เมื่อผู้ป่วยได้รับเซรุ่มต้านพิษงู จะสามารถแก้ฤทธิ์ตามระบบเลือดได้อย่างรวดเร็ว โดยเซรุ่มจะช่วยให้อาการบวม ยุบเร็วกว่ายา ในวันที่ 1 และ 2 แต่หลังจากวันที่ 3 อัตราการยุบจะเท่ากับยา ส่วนอาการปวดจะไม่มีความแตกต่างกัน | ||
+ | |||
+ | '''''ที่มาข้อมูล''''' จุฬาฯสัมพันธ์ | ||
'''''รวบรวมและเรียบเรียงบทความ''''' ศูนย์การสื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ | '''''รวบรวมและเรียบเรียงบทความ''''' ศูนย์การสื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ |
รุ่นปัจจุบันของ 08:09, 14 กันยายน 2554
พิษของงูเขียวหางไหม้ จะทำให้เกิดอาการเฉพาะที่ คือ อาการบวม ปวด มีถุงน้ำใส หรือถุงน้ำเลือด หากถูกกัดที่นิ้วจะมีความเสี่ยงที่เนื้อจะเน่าตาย และมีอาการต่อระบบเลือด คือ ทำให้เลือดไม่แข้งตัว เกล็ดเลือดต่ำ เลือดออกตามไรฟัน ปัสสาวะเป็นเลือด อาเจียนเป็นเลือด ในรายที่รุนแรงอาจมีเลือดออกในสมอง แต่พบเพียงส่วนน้อยเท่านั้น
การให้เซรุ่ม
เมื่อผู้ป่วยได้รับเซรุ่มต้านพิษงู จะสามารถแก้ฤทธิ์ตามระบบเลือดได้อย่างรวดเร็ว โดยเซรุ่มจะช่วยให้อาการบวม ยุบเร็วกว่ายา ในวันที่ 1 และ 2 แต่หลังจากวันที่ 3 อัตราการยุบจะเท่ากับยา ส่วนอาการปวดจะไม่มีความแตกต่างกัน
ที่มาข้อมูล จุฬาฯสัมพันธ์
รวบรวมและเรียบเรียงบทความ ศูนย์การสื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ