องค์ประกอบทางเคมีของรากมะควัด และรากมะเม่าสร้อย

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ' การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจา…')
แถว 1: แถว 1:
       การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากสิ่งสกัดไดคลอโรมีเทนและเมทานอลของรากมะควัด Zizyphus rugosa Lam. สามารถแยกสารในกลุ่มไตรเทอร์พีนอยด์ได้ 9 ชนิด คือ lupeol (1.1), betulin (1.2), betulinic aldehyde (1.3), betulinic acid (1.4), alphitolic acid (1.5), euscaphic acid (1.6), zizyberenalic acid (1.7)  และของผสมระหว่าง  -sitosterol (1.8) และ stigmasterol (1.9) สารในกลุ่มคูมาริน 1 ชนิด คือ scopoletin (1.10) สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ 4 ชนิด คือ kaempferol (1.11), afzelin (1.12), quercitrin (1.13) และ (+)-catechin (1.14) การพิสูจน์โครงสร้างของสารทั้งหมดที่แยกได้นี้ อาศัยวิธีทางกายภาพและวิธีทางสเปกโทรสโกปี ร่วมกับการเปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีรายงานแล้ว จากการทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB และ HeLa พบว่าสาร 1.2 และ 1.7 มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB และ HeLa ได้ปานกลาง โดยมีค่า IC50 เท่ากับ  10.0, 5.5 µg/mL และ 9.5, 13.0 µg/mL ตามลำดับ และสาร 1.4  มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด HeLa ได้ปานกลาง โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 10.0 µg/mL  
       การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากสิ่งสกัดไดคลอโรมีเทนและเมทานอลของรากมะควัด Zizyphus rugosa Lam. สามารถแยกสารในกลุ่มไตรเทอร์พีนอยด์ได้ 9 ชนิด คือ lupeol (1.1), betulin (1.2), betulinic aldehyde (1.3), betulinic acid (1.4), alphitolic acid (1.5), euscaphic acid (1.6), zizyberenalic acid (1.7)  และของผสมระหว่าง  -sitosterol (1.8) และ stigmasterol (1.9) สารในกลุ่มคูมาริน 1 ชนิด คือ scopoletin (1.10) สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ 4 ชนิด คือ kaempferol (1.11), afzelin (1.12), quercitrin (1.13) และ (+)-catechin (1.14) การพิสูจน์โครงสร้างของสารทั้งหมดที่แยกได้นี้ อาศัยวิธีทางกายภาพและวิธีทางสเปกโทรสโกปี ร่วมกับการเปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีรายงานแล้ว จากการทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB และ HeLa พบว่าสาร 1.2 และ 1.7 มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB และ HeLa ได้ปานกลาง โดยมีค่า IC50 เท่ากับ  10.0, 5.5 µg/mL และ 9.5, 13.0 µg/mL ตามลำดับ และสาร 1.4  มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด HeLa ได้ปานกลาง โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 10.0 µg/mL  
-
       การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากสิ่งสกัดไดคลอโรมีเทนและเมทานอลของรากมะเม่าสร้อย Antidesma acidum Retz. สามารถแยกสารใหม่จากธรรมชาติที่มีรายงานการสังเคราะห์มาแล้ว 1 ชนิด คือ corylifolin (2.2) พร้อมกับสารที่มีรายงานแล้วอีก 16 ชนิด คือ antidesmol (2.1), mellein (2.3), ของผสมระหว่าง -stitosterol (2.4) และ  stigmasterol (2.5), 5-cholesten-3-ol (2.6), 4-cholesten-3-one (2.7), 3-(1,1-dimethylallyl)-scopoletin  (2.8), 5,7-dihydroxy-2-eicosyl-chromone (2.9), 2,5-dimethoxy-1,4-bezoquinone (10), barbatumol A (2.11), N-trans-feruloyltyramine (2.12), syringic aldehyde (2.13), p-hydroxybenzoic acid (2.14), taxifolin (2.15), (+)-catechin (2.16) และ (-)-gallocatechin (2.17) การพิสูจน์โครงสร้างของสารทั้งหมดที่แยกได้นี้ อาศัยวิธีทางกายภาพและวิธีทางสเปกโทรสโกปี ร่วมกับการเปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีรายงานแล้ว จากนั้นนำสารทั้งหมดที่แยกได้ไปทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB และ HeLa พบว่า สาร  2.9 และ 2.10 มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด HeLa ได้ดี โดยมีค่า IC50 ของเซลล์มะเร็งชนิด HeLa เท่ากับ 3.9 และ 1.6 µg/mL และพบว่าสาร 2.12, 2.14 และ 2.17 ก็มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด HeLa ได้ปานกลางโดยมีค่า IC50 ของเซลล์มะเร็งชนิด HeLa เท่ากับ 12.3, 10.8 และ 14.9 µg/mL ในขณะที่สาร 2.10 และ 2.12 ยังมีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB ได้ปานกลางโดยมีค่า IC50 ของเซลล์มะเร็งชนิด KB เท่ากับ 4.9 และ 7.8 µg/mL นอกจากนี้ยังนำสารที่แยกได้ไปทำการทดสอบหาฤทธิ์การยับยั้งเอนไซม์แอซีทิล และบิวทิริล โคลีนเอสเทอเรส ด้วยวิธีของ Ellman ซึ่งเป็นวิธีทางสเปกโทรสโกปี พบว่า สาร 2.2, 2.3 และ 2.12 มีฤทธิ์ในการยับยั้งเฉพาะบิวทิริล โคลีนเอสเทอเรส ได้ต่ำที่ค่าเปอร์เซ็นต์การยับยั้งเท่ากับ 47.78, 40.29 และ 43.62 ตามลำดับ
+
       การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากสิ่งสกัดไดคลอโรมีเทนและเมทานอลของรากมะเม่าสร้อย Antidesma acidum Retz. สามารถแยกสารใหม่จากธรรมชาติที่มีรายงานการสังเคราะห์มาแล้ว 1 ชนิด คือ corylifolin (2.2) พร้อมกับสารที่มีรายงานแล้วอีก 16 ชนิด คือ antidesmol (2.1), mellein (2.3), ของผสมระหว่าง B-stitosterol (2.4) และ  stigmasterol (2.5), 5-cholesten-3a-ol (2.6), 4-cholesten-3-one (2.7), 3-(1,1-dimethylallyl)-scopoletin  (2.8), 5,7-dihydroxy-2-eicosyl-chromone (2.9), 2,5-dimethoxy-1,4-bezoquinone (10), barbatumol A (2.11), N-trans-feruloyltyramine (2.12), syringic aldehyde (2.13), p-hydroxybenzoic acid (2.14), taxifolin (2.15), (+)-catechin (2.16) และ (-)-gallocatechin (2.17) การพิสูจน์โครงสร้างของสารทั้งหมดที่แยกได้นี้ อาศัยวิธีทางกายภาพและวิธีทางสเปกโทรสโกปี ร่วมกับการเปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีรายงานแล้ว จากนั้นนำสารทั้งหมดที่แยกได้ไปทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB <math>ใส่สูตรที่นี่</math>และ HeLa พบว่า สาร  2.9 และ 2.10 มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด HeLa ได้ดี โดยมีค่า IC50 ของเซลล์มะเร็งชนิด HeLa เท่ากับ 3.9 และ 1.6 µg/mL และพบว่าสาร 2.12, 2.14 และ 2.17 ก็มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด HeLa ได้ปานกลางโดยมีค่า IC50 ของเซลล์มะเร็งชนิด HeLa เท่ากับ 12.3, 10.8 และ 14.9 µg/mL ในขณะที่สาร 2.10 และ 2.12 ยังมีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB ได้ปานกลางโดยมีค่า IC50 ของเซลล์มะเร็งชนิด KB เท่ากับ 4.9 และ 7.8 µg/mL นอกจากนี้ยังนำสารที่แยกได้ไปทำการทดสอบหาฤทธิ์การยับยั้งเอนไซม์แอซีทิล และบิวทิริล โคลีนเอสเทอเรส ด้วยวิธีของ Ellman ซึ่งเป็นวิธีทางสเปกโทรสโกปี พบว่า สาร 2.2, 2.3 และ 2.12 มีฤทธิ์ในการยับยั้งเฉพาะบิวทิริล โคลีนเอสเทอเรส ได้ต่ำที่ค่าเปอร์เซ็นต์การยับยั้งเท่ากับ 47.78, 40.29 และ 43.62 ตามลำดับ

การปรับปรุง เมื่อ 04:52, 5 ตุลาคม 2555

     การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากสิ่งสกัดไดคลอโรมีเทนและเมทานอลของรากมะควัด Zizyphus rugosa Lam. สามารถแยกสารในกลุ่มไตรเทอร์พีนอยด์ได้ 9 ชนิด คือ lupeol (1.1), betulin (1.2), betulinic aldehyde (1.3), betulinic acid (1.4), alphitolic acid (1.5), euscaphic acid (1.6), zizyberenalic acid (1.7)  และของผสมระหว่าง  -sitosterol (1.8) และ stigmasterol (1.9) สารในกลุ่มคูมาริน 1 ชนิด คือ scopoletin (1.10) สารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ 4 ชนิด คือ kaempferol (1.11), afzelin (1.12), quercitrin (1.13) และ (+)-catechin (1.14) การพิสูจน์โครงสร้างของสารทั้งหมดที่แยกได้นี้ อาศัยวิธีทางกายภาพและวิธีทางสเปกโทรสโกปี ร่วมกับการเปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีรายงานแล้ว จากการทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB และ HeLa พบว่าสาร 1.2 และ 1.7 มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB และ HeLa ได้ปานกลาง โดยมีค่า IC50 เท่ากับ  10.0, 5.5 µg/mL และ 9.5, 13.0 µg/mL ตามลำดับ และสาร 1.4  มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด HeLa ได้ปานกลาง โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 10.0 µg/mL 
     การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากสิ่งสกัดไดคลอโรมีเทนและเมทานอลของรากมะเม่าสร้อย Antidesma acidum Retz. สามารถแยกสารใหม่จากธรรมชาติที่มีรายงานการสังเคราะห์มาแล้ว 1 ชนิด คือ corylifolin (2.2) พร้อมกับสารที่มีรายงานแล้วอีก 16 ชนิด คือ antidesmol (2.1), mellein (2.3), ของผสมระหว่าง B-stitosterol (2.4) และ  stigmasterol (2.5), 5-cholesten-3a-ol (2.6), 4-cholesten-3-one (2.7), 3-(1,1-dimethylallyl)-scopoletin  (2.8), 5,7-dihydroxy-2-eicosyl-chromone (2.9), 2,5-dimethoxy-1,4-bezoquinone (10), barbatumol A (2.11), N-trans-feruloyltyramine (2.12), syringic aldehyde (2.13), p-hydroxybenzoic acid (2.14), taxifolin (2.15), (+)-catechin (2.16) และ (-)-gallocatechin (2.17) การพิสูจน์โครงสร้างของสารทั้งหมดที่แยกได้นี้ อาศัยวิธีทางกายภาพและวิธีทางสเปกโทรสโกปี ร่วมกับการเปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีรายงานแล้ว จากนั้นนำสารทั้งหมดที่แยกได้ไปทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB <math>ใส่สูตรที่นี่</math>และ HeLa พบว่า สาร  2.9 และ 2.10 มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด HeLa ได้ดี โดยมีค่า IC50 ของเซลล์มะเร็งชนิด HeLa เท่ากับ 3.9 และ 1.6 µg/mL และพบว่าสาร 2.12, 2.14 และ 2.17 ก็มีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด HeLa ได้ปานกลางโดยมีค่า IC50 ของเซลล์มะเร็งชนิด HeLa เท่ากับ 12.3, 10.8 และ 14.9 µg/mL ในขณะที่สาร 2.10 และ 2.12 ยังมีฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งชนิด KB ได้ปานกลางโดยมีค่า IC50 ของเซลล์มะเร็งชนิด KB เท่ากับ 4.9 และ 7.8 µg/mL นอกจากนี้ยังนำสารที่แยกได้ไปทำการทดสอบหาฤทธิ์การยับยั้งเอนไซม์แอซีทิล และบิวทิริล โคลีนเอสเทอเรส ด้วยวิธีของ Ellman ซึ่งเป็นวิธีทางสเปกโทรสโกปี พบว่า สาร 2.2, 2.3 และ 2.12 มีฤทธิ์ในการยับยั้งเฉพาะบิวทิริล โคลีนเอสเทอเรส ได้ต่ำที่ค่าเปอร์เซ็นต์การยับยั้งเท่ากับ 47.78, 40.29 และ 43.62 ตามลำดับ
เครื่องมือส่วนตัว