เปรียบเทียบผลของการเดินใช้น้ำหนักและไทชิที่มีผลในการทรงตัวของผู้สูงอายุเพศหญิง
จาก ChulaPedia
(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย ' การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบกา…') |
|||
แถว 1: | แถว 1: | ||
- | + | <nowiki>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการออกกำลังกายในการทรงตัวของสูงอายุเพศหญิงด้วยการเดิน และทดสอบประสิทธิภาพของการออกกำลังกายด้วยการเดินที่พัฒนาขึ้นโดยการเปรียบเทียบกับ ท่ารำไทชิ | |
- | รูปแบบการเดินที่พัฒนาขึ้นใหม่ 8 ท่า ประกอบด้วย ท่าเดินต่อเท้าไปข้างหน้า และถอยหลัง ท่าเดินเตะขา ท่าเดินบนปลายเท้า ท่าเดินบนส้นเท้า ท่าเดินไปข้างหน้า แล้วย่อตัวลง ท่าเดินบิดเท้าออกนอกลำตัว ท่าเดินบิดเท้าเข้าด้านในลำตัว เดินไปด้านข้าง วางเท้าตรง ซึ่งพัฒนาขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมและการวิเคราะห์กล้ามเนื้อด้วยคลื่นไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องและจำเป็นต่อการเดินและการทรงตัว จากนั้นนำรูปแบบการเดิน 8 | + | ซึ่งเป็นการออกกำลังกายสำหรับการทรงตัวที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน |
- | + | รูปแบบการเดินที่พัฒนาขึ้นใหม่ 8 ท่า ประกอบด้วย ท่าเดินต่อเท้าไปข้างหน้า และถอยหลัง ท่าเดินเตะขา ท่าเดินบนปลายเท้า ท่าเดินบนส้นเท้า ท่าเดินไปข้างหน้า แล้วย่อตัวลง ท่าเดินบิดเท้าออกนอกลำตัว | |
- | การออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนัก มีการใช้กล้ามเนื้อที่จำเป็นต่อการทรงตัวได้มากกว่าการออกกำลังกายด้วยไทชิ และสามารถพัฒนาการทรงตัวขณะเคลื่อนที่ได้มากกว่าการออกกำลังกายด้วยไทชิ ในขณะที่การออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนักมีการพัฒนาการทรงตัวในขณะอยู่กับที่ได้เท่ากับการออกกำลังกายด้วยไทชิ | + | ท่าเดินบิดเท้าเข้าด้านในลำตัว เดินไปด้านข้าง วางเท้าตรง ซึ่งพัฒนาขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมและการวิเคราะห์กล้ามเนื้อด้วยคลื่นไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องและจำเป็นต่อการเดินและการทรงตัว จากนั้นนำรูปแบบการเดิน 8 ท่า |
+ | ที่ได้พัฒนาขึ้นไปตรวจสอบค่าความตรงโดยการหาค่าดัชนีความตรงเชิงสอดคล้อง (IOC) จากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.80 จากนั้นทำการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบผลของการออกกำลังกายด้วยการเดินแปดท่า | ||
+ | ที่มีต่อการทรงตัวในผู้สูงอายุเพศหญิงเมื่อเทียบกับการออกกำลังกายด้วยไทชิ กับกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุเพศหญิง อายุระหว่าง 60-69 ปี จำนวน 51 คน ออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนัก 26 คน | ||
+ | และออกกำลังกายด้วยไทชิ 25 คน กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มทำการทดลอง 3 วันต่อสัปดาห์ วันละ 30 นาที อบอุ่นร่างกาย 5 นาที ผ่อนคลายร่างกาย 5 นาที เป็นเวลา 8 สัปดาห์ ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม | ||
+ | ทำการทดสอบการทรงตัวด้วยวิธี Time Up and Go test และ Berg Balance Scale ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง 4 และ 8 สัปดาห์ตามลำดับ จากนั้นวิเคราะห์สถิติโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ | ||
+ | และใช้การทดสอบค่าทีในการหาความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม | ||
+ | |||
+ | ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบการออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนักสามารถพัฒนากล้ามเนื้อในการทรงตัวขณะเคลื่อนที่มากกว่าการออกกำลังกายด้วยไทชิ | ||
+ | การทรงตัวในขณะเคลื่อนที่ของกลุ่มออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนักดีขึ้นหลังการทดลอง 8 สัปดาห์ แต่การออกกำลังกายด้วยไทชิไม่มีการพัฒนา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | ||
+ | และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม หลังการทดลอง 8 สัปดาห์พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนัก สามารถพัฒนาการทรงตัวในขณะเคลื่อนที่ได้ดีกว่ากลุ่มตัวอย่างที่ออกกำลังกายด้วยไทชิ | ||
+ | แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม ในการทรงตัวขณะอยู่กับที่ การออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนัก มีการใช้กล้ามเนื้อที่จำเป็นต่อการทรงตัวได้มากกว่าการออกกำลังกายด้วยไทชิ | ||
+ | และสามารถพัฒนาการทรงตัวขณะเคลื่อนที่ได้มากกว่าการออกกำลังกายด้วยไทชิ ในขณะที่การออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนักมีการพัฒนาการทรงตัวในขณะอยู่กับที่ได้เท่ากับการออกกำลังกายด้วยไทชิ</nowiki> |
การปรับปรุง เมื่อ 05:35, 18 ตุลาคม 2555
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการออกกำลังกายในการทรงตัวของสูงอายุเพศหญิงด้วยการเดิน และทดสอบประสิทธิภาพของการออกกำลังกายด้วยการเดินที่พัฒนาขึ้นโดยการเปรียบเทียบกับ ท่ารำไทชิ ซึ่งเป็นการออกกำลังกายสำหรับการทรงตัวที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน รูปแบบการเดินที่พัฒนาขึ้นใหม่ 8 ท่า ประกอบด้วย ท่าเดินต่อเท้าไปข้างหน้า และถอยหลัง ท่าเดินเตะขา ท่าเดินบนปลายเท้า ท่าเดินบนส้นเท้า ท่าเดินไปข้างหน้า แล้วย่อตัวลง ท่าเดินบิดเท้าออกนอกลำตัว ท่าเดินบิดเท้าเข้าด้านในลำตัว เดินไปด้านข้าง วางเท้าตรง ซึ่งพัฒนาขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมและการวิเคราะห์กล้ามเนื้อด้วยคลื่นไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องและจำเป็นต่อการเดินและการทรงตัว จากนั้นนำรูปแบบการเดิน 8 ท่า ที่ได้พัฒนาขึ้นไปตรวจสอบค่าความตรงโดยการหาค่าดัชนีความตรงเชิงสอดคล้อง (IOC) จากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.80 จากนั้นทำการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบผลของการออกกำลังกายด้วยการเดินแปดท่า ที่มีต่อการทรงตัวในผู้สูงอายุเพศหญิงเมื่อเทียบกับการออกกำลังกายด้วยไทชิ กับกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุเพศหญิง อายุระหว่าง 60-69 ปี จำนวน 51 คน ออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนัก 26 คน และออกกำลังกายด้วยไทชิ 25 คน กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มทำการทดลอง 3 วันต่อสัปดาห์ วันละ 30 นาที อบอุ่นร่างกาย 5 นาที ผ่อนคลายร่างกาย 5 นาที เป็นเวลา 8 สัปดาห์ ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม ทำการทดสอบการทรงตัวด้วยวิธี Time Up and Go test และ Berg Balance Scale ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง 4 และ 8 สัปดาห์ตามลำดับ จากนั้นวิเคราะห์สถิติโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ และใช้การทดสอบค่าทีในการหาความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบการออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนักสามารถพัฒนากล้ามเนื้อในการทรงตัวขณะเคลื่อนที่มากกว่าการออกกำลังกายด้วยไทชิ การทรงตัวในขณะเคลื่อนที่ของกลุ่มออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนักดีขึ้นหลังการทดลอง 8 สัปดาห์ แต่การออกกำลังกายด้วยไทชิไม่มีการพัฒนา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม หลังการทดลอง 8 สัปดาห์พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนัก สามารถพัฒนาการทรงตัวในขณะเคลื่อนที่ได้ดีกว่ากลุ่มตัวอย่างที่ออกกำลังกายด้วยไทชิ แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม ในการทรงตัวขณะอยู่กับที่ การออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนัก มีการใช้กล้ามเนื้อที่จำเป็นต่อการทรงตัวได้มากกว่าการออกกำลังกายด้วยไทชิ และสามารถพัฒนาการทรงตัวขณะเคลื่อนที่ได้มากกว่าการออกกำลังกายด้วยไทชิ ในขณะที่การออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนักมีการพัฒนาการทรงตัวในขณะอยู่กับที่ได้เท่ากับการออกกำลังกายด้วยไทชิ