ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในหญิง

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
53786140 (พูดคุย | เรื่องที่เขียน)
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนแลัการสนับสนุนทา…')
แตกต่างถัดไป →

การปรับปรุง เมื่อ 00:41, 19 ตุลาคม 2555

ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนแลัการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในหญิงวัยทำงาน

บทคัดย่อ

           วัตถุประสงค์ เพื�อศึกษาผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนและแรงสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในหญิงวัยทำงาน
            วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครหญิงวัยทำงานที�ทำงานในสำนักงาน มีอายุระหว่าง 25-60 ปี จำนวน 45 คน โดยการเลือกเข้ากลุ่มแบบสุ่มแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มทดลองซึ�งได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและแรงสนับสนุนทางสังคม 26 คน ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรม 26 คน เครื�องมือที�ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี�ยวกับการรับรู้ความสามารถแห่งตนในการออกกำลังกาย การสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกาย พฤติกรรมการออกกำลังกาย โปรแกรมการออกกำลังกายด้วยยางยืด และเคร�ืองมือท�ีใช้ในการทดสอบ ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื;อหาได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) = .88, .90, .78, .80 และ .96 ตามลำดับ โดยหาความเที�ยงของแบบสอบถาม 3 ชนิด ได้ค่า r = .92, .80 และ .95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี�ย ส่วนเบี�ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความเแปรปรวนทางเดียวชนิดวัดซ้ำ การวิเคราะห์ความเแปรปรวนสองทางชนิดวัดซ้ำ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
            ผลการวิจัย
            1. ค่าเฉลี�ยของคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายของกลุ่มทดลองภายหลังการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที�ระดับ .05
            2. สุขสมรรถนะของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคม ในด้านนัง� งอตัวและดันพื;นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท�ีระดับ .05 เม�ือเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมพบว่ากลุ่มทดลองมีสุขสมรรถนะในด้านนัง� งอตัว ดันพื;น ความแข็งแรงของกล้ามเนื;อหลังและขาสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที�ระดับ .05
            สรุปผลการวิจัย หญิงวัยทำงานที�ได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมทำให้พฤติกรรมการออกกำลังกายดีขึ;นและมีสุขสมรรถนะเพิ�มขึ;น ดังนั;นบุคลากรด้านสุขภาพสามารถนำโปรแกรมไปใช้เพ�ือส่งเสริมให้หญิงวัยทำงานมีพฤติกรรมการออกกำลังกายเป็นประจำอย่างยัง� ยืน

คำสำคัญ : การรับรู้ความสามารถแห่งตน / การสนับสนุนทางสังคม / พฤติกรรมการออกกำลังกาย

เครื่องมือส่วนตัว