ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในหญิง

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนแลัการสนับสนุนทา…')
แถว 1: แถว 1:
-
ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนแลัการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในหญิงวัยทำงาน
+
ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในหญิงวัยทำงาน
 +
 
 +
                                                                              ณัฐพงศ์ เฉิดแสงจันทร์ และ ถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์
 +
                                                                              คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
-
            วัตถุประสงค์ เพื�อศึกษาผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนและแรงสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในหญิงวัยทำงาน
+
            วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนและแรงสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในหญิงวัยทำงาน
-
 
+
             วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครหญิงวัยทำงานที่ทำงานในสำนักงาน มีอายุระหว่าง 25-60 ปี จำนวน 45 คน โดยการเลือกเข้ากลุ่มแบบสุ่มแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มทดลองซึ่งได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและแรงสนับสนุนทางสังคม 26 คน ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรม 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรู้ความสามารถแห่งตนในการออกกำลังกาย การสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกาย พฤติกรรมการออกกำลังกาย โปรแกรมการออกกำลังกายด้วยยางยืด และเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) = .88, .90, .78, .80 และ .96 ตามลำดับ โดยหาความเที่ยงของแบบสอบถาม 3 ชนิด ได้ค่า r = .92, .80 และ .95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความเแปรปรวนทางเดียวชนิดวัดซ้ำ การวิเคราะห์ความเแปรปรวนสองทางชนิดวัดซ้ำ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
-
             วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครหญิงวัยทำงานที�ทำงานในสำนักงาน มีอายุระหว่าง 25-60 ปี จำนวน 45 คน โดยการเลือกเข้ากลุ่มแบบสุ่มแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มทดลองซึ�งได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและแรงสนับสนุนทางสังคม 26 คน ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรม 26 คน เครื�องมือที�ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี�ยวกับการรับรู้ความสามารถแห่งตนในการออกกำลังกาย การสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกาย พฤติกรรมการออกกำลังกาย โปรแกรมการออกกำลังกายด้วยยางยืด และเคร�ืองมือท�ีใช้ในการทดสอบ ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื;อหาได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) = .88, .90, .78, .80 และ .96 ตามลำดับ โดยหาความเที�ยงของแบบสอบถาม 3 ชนิด ได้ค่า r = .92, .80 และ .95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี�ย ส่วนเบี�ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความเแปรปรวนทางเดียวชนิดวัดซ้ำ การวิเคราะห์ความเแปรปรวนสองทางชนิดวัดซ้ำ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
+
-
 
+
             ผลการวิจัย
             ผลการวิจัย
-
             1. ค่าเฉลี�ยของคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายของกลุ่มทดลองภายหลังการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที�ระดับ .05
+
             1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายของกลุ่มทดลองภายหลังการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
 +
            2. สุขสมรรถนะของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคม ในด้านนั่ง งอตัวและดันพื;นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมพบว่ากลุ่มทดลองมีสุขสมรรถนะในด้านนั่ง งอตัว ดันพื้น ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขาสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
 +
            สรุปผลการวิจัย หญิงวัยทำงานที่ได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมทำให้พฤติกรรมการออกกำลังกายดีขึ้นและมีสุขสมรรถนะเพิ่มขึ้น ดังนั้นบุคลากรด้านสุขภาพสามารถนำโปรแกรมไปใช้เพื่อส่งเสริมให้หญิงวัยทำงานมีพฤติกรรมการออกกำลังกายเป็นประจำอย่างยั่งยืน
 +
คำสำคัญ : การรับรู้ความสามารถแห่งตน / การสนับสนุนทางสังคม / พฤติกรรมการออกกำลังกาย
 +
                                                                  .................................................................................................................
-
            2. สุขสมรรถนะของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคม ในด้านนัง� งอตัวและดันพื;นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท�ีระดับ .05 เม�ือเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมพบว่ากลุ่มทดลองมีสุขสมรรถนะในด้านนัง� งอตัว ดันพื;น ความแข็งแรงของกล้ามเนื;อหลังและขาสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที�ระดับ .05
+
EFFECTS OF THE SELF-EFFICACY AND SOCIAL SUPPORT ON EXERCISEBEHAVIOR IN WORKING WOMEN
 +
                                                                              Nattapong Cherdsaengjun and Thanomwong Kritpet
 +
                                                                              Faculty of Sports Science, Chulalongkorn University
-
             สรุปผลการวิจัย หญิงวัยทำงานที�ได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมทำให้พฤติกรรมการออกกำลังกายดีขึ;นและมีสุขสมรรถนะเพิ�มขึ;น ดังนั;นบุคลากรด้านสุขภาพสามารถนำโปรแกรมไปใช้เพ�ือส่งเสริมให้หญิงวัยทำงานมีพฤติกรรมการออกกำลังกายเป็นประจำอย่างยัง� ยืน
+
Abstract
-
+
             Purpose The purposes of this study were to the effects of self-efficacy and social support on exercise behavior in working women.
-
คำสำคัญ : การรับรู้ความสามารถแห่งตน / การสนับสนุนทางสังคม / พฤติกรรมการออกกำลังกาย
+
 
 +
            Methods Fifty-two healthy working women worked in the office aged 25-60 years and they were volunteered in this study. The subjects were randomized into 2 groups. Subjects in the experimental group participated in the self-efficacy and social support enhancement (n=26), while those in the control group received none of the program (n=26). The research instrument was developed by the researcher including selfefficacy on exercise questionnaire, social support on exercise questionnaire, the exercise behavior questionnaire, resistance band exercise program and tools for health-related physical fitness testing. The content validity of the three questionnaires and the resistance band exercise program were examined by a panel of experts, IOC = .88, .90, .78, .80 and .96 respectively. The 3 questionnaires reliability tested by Cronbach’s alpha coefficient were .92, .80 and .95 respectively. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, one-way and two-way ANOVA repeated measures, and analysis of covariance.
 +
            Results
 +
            1. The posttest mean score of exercise behavior in the experimental group was higher than its pretest and higher than posttest in control group at .05 level of significant.
 +
            2. The posttest on health-related physical fitness of the experimental group was higher than its pretest, sit and reach and push up at .05 level of significant. The health-related physical fitness of the experimental group were higher than the control group at .05 level of significant.
 +
            Conclusions Working women who received the self-efficacy and social support enhancement program increase the exercise behavior and health related fitness. Thus, the health care personal may use program to enhance the exercise behavior in working women.
 +
Key Words : self-efficacy / social support / exercise behavior

การปรับปรุง เมื่อ 00:57, 19 ตุลาคม 2555

ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในหญิงวัยทำงาน

                                                                              ณัฐพงศ์ เฉิดแสงจันทร์ และ ถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์
                                                                              คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บทคัดย่อ

            วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนและแรงสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในหญิงวัยทำงาน
            วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครหญิงวัยทำงานที่ทำงานในสำนักงาน มีอายุระหว่าง 25-60 ปี จำนวน 45 คน โดยการเลือกเข้ากลุ่มแบบสุ่มแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มทดลองซึ่งได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและแรงสนับสนุนทางสังคม 26 คน ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรม 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรู้ความสามารถแห่งตนในการออกกำลังกาย การสนับสนุนทางสังคมในการออกกำลังกาย พฤติกรรมการออกกำลังกาย โปรแกรมการออกกำลังกายด้วยยางยืด และเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) = .88, .90, .78, .80 และ .96 ตามลำดับ โดยหาความเที่ยงของแบบสอบถาม 3 ชนิด ได้ค่า r = .92, .80 และ .95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความเแปรปรวนทางเดียวชนิดวัดซ้ำ การวิเคราะห์ความเแปรปรวนสองทางชนิดวัดซ้ำ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
            ผลการวิจัย
            1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายของกลุ่มทดลองภายหลังการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
            2. สุขสมรรถนะของกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคม ในด้านนั่ง งอตัวและดันพื;นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมพบว่ากลุ่มทดลองมีสุขสมรรถนะในด้านนั่ง งอตัว ดันพื้น ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหลังและขาสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
            สรุปผลการวิจัย หญิงวัยทำงานที่ได้รับการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมทำให้พฤติกรรมการออกกำลังกายดีขึ้นและมีสุขสมรรถนะเพิ่มขึ้น ดังนั้นบุคลากรด้านสุขภาพสามารถนำโปรแกรมไปใช้เพื่อส่งเสริมให้หญิงวัยทำงานมีพฤติกรรมการออกกำลังกายเป็นประจำอย่างยั่งยืน

คำสำคัญ : การรับรู้ความสามารถแห่งตน / การสนับสนุนทางสังคม / พฤติกรรมการออกกำลังกาย

                                                                  .................................................................................................................

EFFECTS OF THE SELF-EFFICACY AND SOCIAL SUPPORT ON EXERCISEBEHAVIOR IN WORKING WOMEN

                                                                              Nattapong Cherdsaengjun and Thanomwong Kritpet
                                                                              Faculty of Sports Science, Chulalongkorn University

Abstract

            Purpose The purposes of this study were to the effects of self-efficacy and social support on exercise behavior in working women.
            Methods Fifty-two healthy working women worked in the office aged 25-60 years and they were volunteered in this study. The subjects were randomized into 2 groups. Subjects in the experimental group participated in the self-efficacy and social support enhancement (n=26), while those in the control group received none of the program (n=26). The research instrument was developed by the researcher including selfefficacy on exercise questionnaire, social support on exercise questionnaire, the exercise behavior questionnaire, resistance band exercise program and tools for health-related physical fitness testing. The content validity of the three questionnaires and the resistance band exercise program were examined by a panel of experts, IOC = .88, .90, .78, .80 and .96 respectively. The 3 questionnaires reliability tested by Cronbach’s alpha coefficient were .92, .80 and .95 respectively. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, one-way and two-way ANOVA repeated measures, and analysis of covariance.
            Results
            1. The posttest mean score of exercise behavior in the experimental group was higher than its pretest and higher than posttest in control group at .05 level of significant.
            2. The posttest on health-related physical fitness of the experimental group was higher than its pretest, sit and reach and push up at .05 level of significant. The health-related physical fitness of the experimental group were higher than the control group at .05 level of significant.
            Conclusions Working women who received the self-efficacy and social support enhancement program increase the exercise behavior and health related fitness. Thus, the health care personal may use program to enhance the exercise behavior in working women.

Key Words : self-efficacy / social support / exercise behavior

เครื่องมือส่วนตัว