จิตบำบัดประคับประคอง

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
แถว 1: แถว 1:
== '''ผลของจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมต่ออาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ  (THE EFFECT OF SUPPORTIVE PSYCHOTHERAPY WITH PARTICIPATING FAMILY  ON  DEPRESSIVE SYMPTOMS OF ELDERLY  PATIENTS WITH  MAJOR DEPRESSIVE DISORDER)'''ผู้วิจัย ร.อ.หญิง อุดมลักษณ์ ศรีเพ็ง(Udomlak Sripeng,R.N.) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รังสิมันต์ สุนทรไชยา (Rangsiman Soonthornchaiya, Ph.D.,R.N.)    ==
== '''ผลของจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมต่ออาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ  (THE EFFECT OF SUPPORTIVE PSYCHOTHERAPY WITH PARTICIPATING FAMILY  ON  DEPRESSIVE SYMPTOMS OF ELDERLY  PATIENTS WITH  MAJOR DEPRESSIVE DISORDER)'''ผู้วิจัย ร.อ.หญิง อุดมลักษณ์ ศรีเพ็ง(Udomlak Sripeng,R.N.) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รังสิมันต์ สุนทรไชยา (Rangsiman Soonthornchaiya, Ph.D.,R.N.)    ==
-
  == บทคัดย่อ ==การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบอาการซึมเศร้าของผู้ ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุก่อนและหลังได้รับจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกสถาบันเวชศาสตร์การบินกองทัพอากาศกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน ภายหลังการจับคู่และแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองได้รับการทำจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยประยุกต์แนวคิดของ Winston, Rosenthal  and Pinsker(2004)ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบ ถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบวัดระดับความสัมพันธ์เชิงบวกขณะอยู่ร่วมกับครอบครัว  เครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน แบบประเมินภาวะซึมเศร้าวิเคราะห์ความเที่ยงโดยสัมประสิทธิ์อัลฟาคอนบาร์ค ค่าความเที่ยงเท่ากับ.83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที(t-test)
+
   
 +
== บทคัดย่อ:การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบอาการซึมเศร้าของผู้ ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุก่อนและหลังได้รับจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกสถาบันเวชศาสตร์การบินกองทัพอากาศกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน ภายหลังการจับคู่และแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองได้รับการทำจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยประยุกต์แนวคิดของ Winston, Rosenthal  and Pinsker(2004)ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบ ถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบวัดระดับความสัมพันธ์เชิงบวกขณะอยู่ร่วมกับครอบครัว  เครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน แบบประเมินภาวะซึมเศร้าวิเคราะห์ความเที่ยงโดยสัมประสิทธิ์อัลฟาคอนบาร์ค ค่าความเที่ยงเท่ากับ.83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที(t-test) ==
== '''ผลการวิจัยพบว่า'''
== '''ผลการวิจัยพบว่า'''

การปรับปรุง เมื่อ 08:41, 27 ธันวาคม 2555

ผลของจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมต่ออาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ (THE EFFECT OF SUPPORTIVE PSYCHOTHERAPY WITH PARTICIPATING FAMILY ON DEPRESSIVE SYMPTOMS OF ELDERLY PATIENTS WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER)ผู้วิจัย ร.อ.หญิง อุดมลักษณ์ ศรีเพ็ง(Udomlak Sripeng,R.N.) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รังสิมันต์ สุนทรไชยา (Rangsiman Soonthornchaiya, Ph.D.,R.N.)

บทคัดย่อ:การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบอาการซึมเศร้าของผู้ ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุก่อนและหลังได้รับจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกสถาบันเวชศาสตร์การบินกองทัพอากาศกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน ภายหลังการจับคู่และแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองได้รับการทำจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยประยุกต์แนวคิดของ Winston, Rosenthal and Pinsker(2004)ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบ ถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบวัดระดับความสัมพันธ์เชิงบวกขณะอยู่ร่วมกับครอบครัว เครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน แบบประเมินภาวะซึมเศร้าวิเคราะห์ความเที่ยงโดยสัมประสิทธิ์อัลฟาคอนบาร์ค ค่าความเที่ยงเท่ากับ.83 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที(t-test)

== ผลการวิจัยพบว่า 1)อาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุภายหลังได้รับจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมต่ำกว่าก่อนได้รับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2)อาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุของกลุ่มทดลองต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ==

คำสำคัญ : อาการซึมเศร้า ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ และจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วม

เครื่องมือส่วนตัว