การวิเคราะห์การจัดการชุมชนของตลาดน้ำโบราณ

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
 
แถว 1: แถว 1:
 +
'''นางสาวกุณฑลี แก้วโบราณ นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน  ภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย'''
 +
'''วิทยานิพนธ์เรื่อง : การวิเคราะห์การจัดการชุมชนของตลาดน้ำโบราณเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต    '''
 +
 +
 +
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์กรณีศึกษาที่ดีของตลาดน้ำโบราณที่มีการจัดการชุมชนเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ 2) เพื่อเสนอแนวทางการจัดการชุมชนของตลาดน้ำโบราณเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ตลาดน้ำโบราณ 3 แห่ง ผู้วิจัยวิเคราะห์เอกสารและเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ สรุปเป็นประเด็นและจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการชุมชนของตลาดน้ำโบราณเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผลการวิจัยสรุปดังนี้   
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์กรณีศึกษาที่ดีของตลาดน้ำโบราณที่มีการจัดการชุมชนเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ 2) เพื่อเสนอแนวทางการจัดการชุมชนของตลาดน้ำโบราณเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ตลาดน้ำโบราณ 3 แห่ง ผู้วิจัยวิเคราะห์เอกสารและเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ สรุปเป็นประเด็นและจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการชุมชนของตลาดน้ำโบราณเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผลการวิจัยสรุปดังนี้   
1) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ดีของตลาดน้ำทั้ง 3 แห่ง พบว่ามีการจัดการด้านสภาพแวดล้อม การจัดการด้านองค์กร การจัดการด้านการตลาด และการจัดการด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
1) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ดีของตลาดน้ำทั้ง 3 แห่ง พบว่ามีการจัดการด้านสภาพแวดล้อม การจัดการด้านองค์กร การจัดการด้านการตลาด และการจัดการด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

รุ่นปัจจุบันของ 09:44, 11 มิถุนายน 2556

นางสาวกุณฑลี แก้วโบราณ นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาการศึกษานอกระบบโรงเรียน ภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิทยานิพนธ์เรื่อง : การวิเคราะห์การจัดการชุมชนของตลาดน้ำโบราณเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์กรณีศึกษาที่ดีของตลาดน้ำโบราณที่มีการจัดการชุมชนเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ 2) เพื่อเสนอแนวทางการจัดการชุมชนของตลาดน้ำโบราณเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ตลาดน้ำโบราณ 3 แห่ง ผู้วิจัยวิเคราะห์เอกสารและเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ สรุปเป็นประเด็นและจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการชุมชนของตลาดน้ำโบราณเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผลการวิจัยสรุปดังนี้ 1) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ดีของตลาดน้ำทั้ง 3 แห่ง พบว่ามีการจัดการด้านสภาพแวดล้อม การจัดการด้านองค์กร การจัดการด้านการตลาด และการจัดการด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต แนวทางการจัดการชุมชนของตลาดน้ำโบราณเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต พบว่า 1) ด้านการจัดการด้านสภาพแวดล้อม ควรจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวควบคู่ไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 2) ด้านการจัดการด้านองค์กร เปิดโอกาสให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ 3) ด้านการจัดการด้านการตลาด ส่งเสริมให้มีการประชาสัมพันธ์ตลาด ควบคุมมาตรฐานราคาและคุณภาพสินค้าในตลาดน้ำโบราณ 4) ด้านการจัดการด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประกอบด้วย 4.1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในระบบโรงเรียน ส่งเสริมให้ตลาดเป็นหนึ่งในกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักเรียนได้เรียนรู้จากตลาดน้ำโบราณ 4.2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียน นำความต้องการของคนในชุมชนมาสร้างหลักสูตรระยะสั้นเพื่อให้ทุกภาคส่วนได้เรียนรู้ 4.3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย นำความคิดเห็นของทุกภาคส่วนเข้าสู่กระบวนการชุมชน มาสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ภายในตลาดน้ำโบราณ


AN ANALYSIS OF COMMUNITY MANAGEMENT OF ANCIENT FLOATING MARKETS TO ENHANCE CIVIC PARTICIPATION IN LIFELONG LEARNING MANAGEMENT The purposes of this research were to 1) study an analysis best practice of ancient floating markets to enhance civic participation in lifelong management 2) to present the guideline of community management of ancient floating markets to enhance civic participation in lifelong management. The sample groups of this research included four ancient floating markets. Researcher used the analysis the document, collected data by interview form to conclude the issue and focus group technique. Then, present the guideline of community management of ancient floating markets to enhance civic participation in lifelong management. The research findings were as follows: 1) The results of analysis best practice of three ancient floating markets found that four aspects 1) climate setting 2) Organizing 3) markets management and 4) lifelong learning activities management. 2) The guideline of community management of ancient floating markets to enhance civic participation in lifelong management found that 1) climate setting aspect; should provided for facilitate tourism 2) Organizing aspect; available community to reach the opportunities to floating markets management 3) markets management; public relation the floating markets and quality control between price and product in floating markets 4) lifelong learning activities management; which include three sub aspects, 4.1) formal education activities in; promoted floating markets to the transcript activity 4.2) non-formal education activities ; developed the short course which based on community needs and 4.3) informal education activities; developed the learning activities based on viewpoint through community process around the floating market learning resources.

เครื่องมือส่วนตัว