ความสอดคล้องระหว่างนักเรียนและครูที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ
จาก ChulaPedia
แถว 6: | แถว 6: | ||
'''บทคัดย่อ ''' | '''บทคัดย่อ ''' | ||
- | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์แบบการคิดของนักเรียน แบบการเรียนของนักเรียนและแบบการสอนของครูในวิชาภาษาอังกฤษ 2) วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างแบบการคิดกับแบบการเรียนของนักเรียน 3) วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างแบบการคิดของนักเรียน แบบการเรียนของนักเรียนและแบบการสอนของครูในวิชาภาษาอังกฤษ และ 4) วิเคราะห์ผลของความสอดคล้องระหว่างแบบการคิดของนักเรียน แบบการเรียนของนักเรียน และแบบการสอนของครูที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 564 คน และครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 18 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติภาคบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์ตารางไขว้ สถิติทดสอบไค-สแควร์ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว | + | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ |
+ | |||
+ | 1) วิเคราะห์แบบการคิดของนักเรียน แบบการเรียนของนักเรียนและแบบการสอนของครูในวิชาภาษาอังกฤษ | ||
+ | |||
+ | 2) วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างแบบการคิดกับแบบการเรียนของนักเรียน | ||
+ | |||
+ | 3) วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างแบบการคิดของนักเรียน แบบการเรียนของนักเรียนและแบบการสอนของครูในวิชาภาษาอังกฤษ และ | ||
+ | |||
+ | 4) วิเคราะห์ผลของความสอดคล้องระหว่างแบบการคิดของนักเรียน แบบการเรียนของนักเรียน และแบบการสอนของครูที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 564 คน และครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 18 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติภาคบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์ตารางไขว้ สถิติทดสอบไค-สแควร์ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว | ||
- | ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ 1) นักเรียนส่วนใหญ่มีแบบการคิดในมิติด้านหน้าที่เป็นแบบผู้ตัดสิน มิติด้านรูปแบบเป็นแบบจัดลำดับงาน มิติด้านระดับเป็นแบบภาพรวม มิติด้านขอบเขตเป็นแบบชอบครุ่นคิดภายในใจ และมิติด้านความโน้มเอียงเป็นแบบใฝ่กฎเกณฑ์ นักเรียนส่วนใหญ่มีแบบการเรียนแบบมีส่วนร่วม แบบร่วมมือ แบบพึ่งพา ตามลำดับ และครูส่วนใหญ่มีแบบการสอนแบบผู้มอบหมาย แบบผู้อำนวยความสะดวก แบบผู้เชี่ยวชาญ และแบบผู้เป็นแบบอย่าง ตามลำดับ 2) แบบการคิดทั้ง 5 มิติ สามารถจัดกลุ่มโปรไฟล์แบบการคิดได้ 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแบบการคิดแบบใส่ใจรายละเอียด แบบมีกระบวนการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์และแบบจำแนกไม่ได้ และพบว่านักเรียนที่มีกลุ่มโปรไฟล์ของแบบการคิดทุกกลุ่มจะมีแบบการเรียนแบบมีส่วนร่วมมากที่สุด 3) นักเรียนส่วนใหญ่จัดอยู่ในกลุ่มแบบการคิดแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีแบบการเรียนแบบมีส่วนร่วม และได้รับการสอนจากครูผู้เชี่ยวชาญมากที่สุด และ 4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษกับกลุ่มความสอดคล้องระหว่างแบบการคิด แบบการเรียน และแบบการสอนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 | + | ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ |
+ | |||
+ | 1) นักเรียนส่วนใหญ่มีแบบการคิดในมิติด้านหน้าที่เป็นแบบผู้ตัดสิน มิติด้านรูปแบบเป็นแบบจัดลำดับงาน มิติด้านระดับเป็นแบบภาพรวม มิติด้านขอบเขตเป็นแบบชอบครุ่นคิดภายในใจ และมิติด้านความโน้มเอียงเป็นแบบใฝ่กฎเกณฑ์ นักเรียนส่วนใหญ่มีแบบการเรียนแบบมีส่วนร่วม แบบร่วมมือ แบบพึ่งพา ตามลำดับ และครูส่วนใหญ่มีแบบการสอนแบบผู้มอบหมาย แบบผู้อำนวยความสะดวก แบบผู้เชี่ยวชาญ และแบบผู้เป็นแบบอย่าง ตามลำดับ | ||
+ | |||
+ | 2) แบบการคิดทั้ง 5 มิติ สามารถจัดกลุ่มโปรไฟล์แบบการคิดได้ 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแบบการคิดแบบใส่ใจรายละเอียด แบบมีกระบวนการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์และแบบจำแนกไม่ได้ และพบว่านักเรียนที่มีกลุ่มโปรไฟล์ของแบบการคิดทุกกลุ่มจะมีแบบการเรียนแบบมีส่วนร่วมมากที่สุด | ||
+ | |||
+ | 3) นักเรียนส่วนใหญ่จัดอยู่ในกลุ่มแบบการคิดแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีแบบการเรียนแบบมีส่วนร่วม และได้รับการสอนจากครูผู้เชี่ยวชาญมากที่สุด และ | ||
+ | |||
+ | 4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษกับกลุ่มความสอดคล้องระหว่างแบบการคิด แบบการเรียน และแบบการสอนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 | ||
น.ส.พิไลวรรณ พุ่มขจร | น.ส.พิไลวรรณ พุ่มขจร |
รุ่นปัจจุบันของ 02:49, 25 ตุลาคม 2556
ผลของความสอดคล้องระหว่างแบบการคิดของนักเรียน แบบการเรียนของนักเรียนและแบบการสอนของครูที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน
EFFECTS OF MATCHING AMONG STUDENTS’ THINKING STYLES, STUDENTS’ LEARNING STYLES AND TEACHERS’ TEACHING STYLES ON STUDENTS’ ENGLISH ACHIEVEMENT
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) วิเคราะห์แบบการคิดของนักเรียน แบบการเรียนของนักเรียนและแบบการสอนของครูในวิชาภาษาอังกฤษ
2) วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างแบบการคิดกับแบบการเรียนของนักเรียน
3) วิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างแบบการคิดของนักเรียน แบบการเรียนของนักเรียนและแบบการสอนของครูในวิชาภาษาอังกฤษ และ
4) วิเคราะห์ผลของความสอดคล้องระหว่างแบบการคิดของนักเรียน แบบการเรียนของนักเรียน และแบบการสอนของครูที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 564 คน และครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 18 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติภาคบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์ตารางไขว้ สถิติทดสอบไค-สแควร์ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว
ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้
1) นักเรียนส่วนใหญ่มีแบบการคิดในมิติด้านหน้าที่เป็นแบบผู้ตัดสิน มิติด้านรูปแบบเป็นแบบจัดลำดับงาน มิติด้านระดับเป็นแบบภาพรวม มิติด้านขอบเขตเป็นแบบชอบครุ่นคิดภายในใจ และมิติด้านความโน้มเอียงเป็นแบบใฝ่กฎเกณฑ์ นักเรียนส่วนใหญ่มีแบบการเรียนแบบมีส่วนร่วม แบบร่วมมือ แบบพึ่งพา ตามลำดับ และครูส่วนใหญ่มีแบบการสอนแบบผู้มอบหมาย แบบผู้อำนวยความสะดวก แบบผู้เชี่ยวชาญ และแบบผู้เป็นแบบอย่าง ตามลำดับ
2) แบบการคิดทั้ง 5 มิติ สามารถจัดกลุ่มโปรไฟล์แบบการคิดได้ 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแบบการคิดแบบใส่ใจรายละเอียด แบบมีกระบวนการ แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์และแบบจำแนกไม่ได้ และพบว่านักเรียนที่มีกลุ่มโปรไฟล์ของแบบการคิดทุกกลุ่มจะมีแบบการเรียนแบบมีส่วนร่วมมากที่สุด
3) นักเรียนส่วนใหญ่จัดอยู่ในกลุ่มแบบการคิดแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีแบบการเรียนแบบมีส่วนร่วม และได้รับการสอนจากครูผู้เชี่ยวชาญมากที่สุด และ
4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษกับกลุ่มความสอดคล้องระหว่างแบบการคิด แบบการเรียน และแบบการสอนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05
น.ส.พิไลวรรณ พุ่มขจร