ผลของการใช้โฆษกที่เป็นสัตว์ในการโฆษณาและความเชื่อมโยงของสินค้าต่อพฤติกรรมผู้บริโภค

จาก ChulaPedia

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'ผลของการใช้โฆษกที่เป็นสัตว์ในการโฆษณาและความเช…')
 
แถว 3: แถว 3:
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
-
          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้โฆษกที่เป็นสัตว์ต่อพฤติกรรมผู้บริโภค อันได้แก่ ความน่าเชื่อถือของงานโฆษณา ความน่าดึงดูดใจของงานโฆษณา ทัศนคติต่องานโฆษณา ทัศนคติต่อตราสินค้า และความตั้งใจซื้อ โดยเป็นวิจัยเชิงทดลองแบบ 2X2X2 แฟคทอเรียล โดยทำการเก็บข้อมูลกับผู้เข้าร่วมการทดลองระดับปริญญาตรี จำนวน 267 คน ผลการศึกษา พบว่า ในส่วนของผลกระทบหลัก มีเพียงแค่ปัจจัยในเรื่องของความเชื่อมโยงระหว่างสินค้าและโฆษกที่เป็นสัตว์มีผลกระทบทางตรงต่อทัศนคติต่อตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กล่าวคือ สินค้าที่มีความเชื่อมโยงกับโฆษกส่งผลต่อทัศนคติต่อตราสินค้ามากกว่าสินค้าที่ไม่มีความเชื่อมโยงกับโฆษก อีกทั้ง ปัจจัยในเรื่องของประเภทกับพฤติกรรมของโฆษกที่เป็นสัตว์ และความเชื่อมโยงระหว่างสินค้าและโฆษกที่เป็นสัตว์ที่แตกต่างกันมีผลกระทบร่วมกันต่อความน่าเชื่อถือของงานโฆษณาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเช่นกัน
+
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้โฆษกที่เป็นสัตว์ต่อพฤติกรรมผู้บริโภค อันได้แก่ ความน่าเชื่อถือของงานโฆษณา ความน่าดึงดูดใจของงานโฆษณา ทัศนคติต่องานโฆษณา ทัศนคติต่อตราสินค้า และความตั้งใจซื้อ โดยเป็นวิจัยเชิงทดลองแบบ 2 X 2 X 2 แฟคทอเรียล โดยทำการเก็บข้อมูลกับผู้เข้าร่วมการทดลองระดับปริญญาตรี จำนวน 267 คน ผลการศึกษา พบว่า ในส่วนของผลกระทบหลัก มีเพียงแค่ปัจจัยในเรื่องของความเชื่อมโยงระหว่างสินค้าและโฆษกที่เป็นสัตว์มีผลกระทบทางตรงต่อทัศนคติต่อตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กล่าวคือ สินค้าที่มีความเชื่อมโยงกับโฆษกส่งผลต่อทัศนคติต่อตราสินค้ามากกว่าสินค้าที่ไม่มีความเชื่อมโยงกับโฆษก อีกทั้ง ปัจจัยในเรื่องของประเภทกับพฤติกรรมของโฆษกที่เป็นสัตว์ และความเชื่อมโยงระหว่างสินค้าและโฆษกที่เป็นสัตว์ที่แตกต่างกันมีผลกระทบร่วมกันต่อความน่าเชื่อถือของงานโฆษณาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเช่นกัน
-
 
+
กัญญารัตน์ ร่มโพธิ์คาพงษ์
กัญญารัตน์ ร่มโพธิ์คาพงษ์
5484852028
5484852028

รุ่นปัจจุบันของ 03:07, 4 เมษายน 2557

ผลของการใช้โฆษกที่เป็นสัตว์ในการโฆษณาและความเชื่อมโยงของสินค้าต่อพฤติกรรมผู้บริโภค

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้โฆษกที่เป็นสัตว์ต่อพฤติกรรมผู้บริโภค อันได้แก่ ความน่าเชื่อถือของงานโฆษณา ความน่าดึงดูดใจของงานโฆษณา ทัศนคติต่องานโฆษณา ทัศนคติต่อตราสินค้า และความตั้งใจซื้อ โดยเป็นวิจัยเชิงทดลองแบบ 2 X 2 X 2 แฟคทอเรียล โดยทำการเก็บข้อมูลกับผู้เข้าร่วมการทดลองระดับปริญญาตรี จำนวน 267 คน ผลการศึกษา พบว่า ในส่วนของผลกระทบหลัก มีเพียงแค่ปัจจัยในเรื่องของความเชื่อมโยงระหว่างสินค้าและโฆษกที่เป็นสัตว์มีผลกระทบทางตรงต่อทัศนคติต่อตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กล่าวคือ สินค้าที่มีความเชื่อมโยงกับโฆษกส่งผลต่อทัศนคติต่อตราสินค้ามากกว่าสินค้าที่ไม่มีความเชื่อมโยงกับโฆษก อีกทั้ง ปัจจัยในเรื่องของประเภทกับพฤติกรรมของโฆษกที่เป็นสัตว์ และความเชื่อมโยงระหว่างสินค้าและโฆษกที่เป็นสัตว์ที่แตกต่างกันมีผลกระทบร่วมกันต่อความน่าเชื่อถือของงานโฆษณาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเช่นกัน

กัญญารัตน์ ร่มโพธิ์คาพงษ์

5484852028

เครื่องมือส่วนตัว