ความปลอดภัยของสถานศึกษา
จาก ChulaPedia
แถว 1: | แถว 1: | ||
'''การศึกษาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน A STUDY OF THE SAFETY PROCEDURES OF EDUCATIONAL INSTITUTIONS AT THE SECONDARY EDUCATION LEVEL UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATION COMMISSION ''' | '''การศึกษาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน A STUDY OF THE SAFETY PROCEDURES OF EDUCATIONAL INSTITUTIONS AT THE SECONDARY EDUCATION LEVEL UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATION COMMISSION ''' | ||
ปราณี อินทรักษา และ ปองสิน วิเศษศิริ | ปราณี อินทรักษา และ ปองสิน วิเศษศิริ | ||
+ | |||
'''บทคัดย่อ'''การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้กรอบการวิจัยตามคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 342 คน และผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา จำนวน 342 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากการศึกษาการดำเนินการรักษาความปลอดภัย 6 ด้าน ขอนำเสนอสิ่งที่ปฏิบัติมากที่สุดและน้อยที่สุดในแต่ละมาตรการเท่านั้น โดยขอเสนอเรียงตามลำดับมากน้อย ดังนี้ สภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัย พบว่า1) มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ - แต่งตั้งบุคลากรในการควบคุมดูแลรักษาอาคารสถานที่และพานักเรียนไปนอกสถานที่ -บันทึกเก็บสถิติจุดที่เกิดอุบัติเหตุ 2) มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย - จัดให้มีครูและนักการภารโรงอยู่เวรยาม - ติดตั้งระบบสัญญาณเตือนภัยพร้อมแผนผังการหนีไฟ 3) มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคม - ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือ -จัดหาจิตแพทย์เข้ามาศึกษาและให้ความรู้แก่นักเรียน 4) มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน - กำจัดของเสียในสถานศึกษา - จัดเรียนร่วมระหว่างเด็กที่มีปัญหาทางด้านพฤติกรรมอารมณ์กับเด็กปกติ 5) มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสัตว์มีพิษ - จัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น - จัดทำป้ายเตือนภัยจากสัตว์มีพิษ 6) มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ - แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ - ซักซ้อมการอพยพ จัดทำหลุมหลบภัย ปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัย พบว่า ในภาพรวมมีปัญหาอยู่ในระดับน้อยและน้อยที่สุด โดยปัญหาในระดับน้อยพบ 2 ด้าน คือ ด้านอุบัติเหตุและด้านอุบัติภัย ปัญหาในระดับน้อยที่สุดพบ 4 ด้าน คือ ด้านปัญหาทางสังคม ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน ด้านสัตว์มีพิษและด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ | '''บทคัดย่อ'''การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้กรอบการวิจัยตามคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 342 คน และผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา จำนวน 342 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากการศึกษาการดำเนินการรักษาความปลอดภัย 6 ด้าน ขอนำเสนอสิ่งที่ปฏิบัติมากที่สุดและน้อยที่สุดในแต่ละมาตรการเท่านั้น โดยขอเสนอเรียงตามลำดับมากน้อย ดังนี้ สภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัย พบว่า1) มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ - แต่งตั้งบุคลากรในการควบคุมดูแลรักษาอาคารสถานที่และพานักเรียนไปนอกสถานที่ -บันทึกเก็บสถิติจุดที่เกิดอุบัติเหตุ 2) มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย - จัดให้มีครูและนักการภารโรงอยู่เวรยาม - ติดตั้งระบบสัญญาณเตือนภัยพร้อมแผนผังการหนีไฟ 3) มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคม - ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือ -จัดหาจิตแพทย์เข้ามาศึกษาและให้ความรู้แก่นักเรียน 4) มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน - กำจัดของเสียในสถานศึกษา - จัดเรียนร่วมระหว่างเด็กที่มีปัญหาทางด้านพฤติกรรมอารมณ์กับเด็กปกติ 5) มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสัตว์มีพิษ - จัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น - จัดทำป้ายเตือนภัยจากสัตว์มีพิษ 6) มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ - แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ - ซักซ้อมการอพยพ จัดทำหลุมหลบภัย ปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัย พบว่า ในภาพรวมมีปัญหาอยู่ในระดับน้อยและน้อยที่สุด โดยปัญหาในระดับน้อยพบ 2 ด้าน คือ ด้านอุบัติเหตุและด้านอุบัติภัย ปัญหาในระดับน้อยที่สุดพบ 4 ด้าน คือ ด้านปัญหาทางสังคม ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน ด้านสัตว์มีพิษและด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ | ||
'''คำสำคัญ''' : ความปลอดภัยของสถานศึกษา / ความปลอดภัย / การดำเนินการ | '''คำสำคัญ''' : ความปลอดภัยของสถานศึกษา / ความปลอดภัย / การดำเนินการ | ||
+ | |||
'''ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก “ทุนอุดหนุนวิทยานิพนธ์สำหรับนิสิต” บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย''' | '''ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก “ทุนอุดหนุนวิทยานิพนธ์สำหรับนิสิต” บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย''' | ||
+ | |||
+ | |||
Pranee Intaruksa and Pongsin Viseshsiri | Pranee Intaruksa and Pongsin Viseshsiri | ||
'''Abstract'''This research was to study states and problems of the implementation of safety procedures in secondary schools based on the Handbook, B.E. 2552 by the Basic Education Commission. The sample population consisted of 342 school directors and 342 school personnel who hold responsibility as safety officers. The research instruments were questionnaires and the data was analyzed by using frequency, percentage, mean, and standard deviation.Research results were presented in six Safety Procedure Aspects. Only aspects that had been done the most and the least action wise were presented respectively as follows: The States of Safety Procedure Implementation: 1) Accident Prevention: - assigning of personnel for building and facilities maintenance as well as teachers during student field trips, - recording of the number of accidents. 2) Preparation for Natural Disasters: - assigning teachers and janitorsduty during day and night time, having a fire alarm system, evacuation plans and conducting fire drills. 3) Social Problems Prevention: following the students’ assistance system, arranging psychiatrists to examine and provide knowledge for students. 4) Student Health and Hygiene Prevention: managing waste treatment, organizing integrated classroom for students with learning disorders (LD) and regular students. 5) Poisonous Animals Prevention: providing a clean and tidy environment as well as installing warning signs for poisonous animals. 6) War and Terrorist Impact: assigning personnel responsible for monitoring current situations, practicing evacuation drills and providing bomb shelters. The Problems of Safety Procedure Implementation: Overall, the level of problems found in between the low and lowest ranges were as follows: Problems under low levels- Accidents Prevention and Natural Disaster Prevention. Problems under the lowest level - Social Problems Prevention, Student Health and Hygiene Prevention, Poisonous Animals Prevention, War and Terrorist Impact. | '''Abstract'''This research was to study states and problems of the implementation of safety procedures in secondary schools based on the Handbook, B.E. 2552 by the Basic Education Commission. The sample population consisted of 342 school directors and 342 school personnel who hold responsibility as safety officers. The research instruments were questionnaires and the data was analyzed by using frequency, percentage, mean, and standard deviation.Research results were presented in six Safety Procedure Aspects. Only aspects that had been done the most and the least action wise were presented respectively as follows: The States of Safety Procedure Implementation: 1) Accident Prevention: - assigning of personnel for building and facilities maintenance as well as teachers during student field trips, - recording of the number of accidents. 2) Preparation for Natural Disasters: - assigning teachers and janitorsduty during day and night time, having a fire alarm system, evacuation plans and conducting fire drills. 3) Social Problems Prevention: following the students’ assistance system, arranging psychiatrists to examine and provide knowledge for students. 4) Student Health and Hygiene Prevention: managing waste treatment, organizing integrated classroom for students with learning disorders (LD) and regular students. 5) Poisonous Animals Prevention: providing a clean and tidy environment as well as installing warning signs for poisonous animals. 6) War and Terrorist Impact: assigning personnel responsible for monitoring current situations, practicing evacuation drills and providing bomb shelters. The Problems of Safety Procedure Implementation: Overall, the level of problems found in between the low and lowest ranges were as follows: Problems under low levels- Accidents Prevention and Natural Disaster Prevention. Problems under the lowest level - Social Problems Prevention, Student Health and Hygiene Prevention, Poisonous Animals Prevention, War and Terrorist Impact. | ||
+ | |||
'''Keywords''' : SCHOOL SAFETY / SAFETY / OPERATION | '''Keywords''' : SCHOOL SAFETY / SAFETY / OPERATION | ||
+ | |||
'''บทนำ''' สถานการณ์ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะทางด้านเศรษฐกิจ ที่กลายเป็นตัวกระตุ้นที่สำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหา ความรุนแรง การเอารัดเอาเปรียบ ส่วนทางด้านสังคม เป็นสังคมแห่งการแข่งขัน มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี แต่ด้านคุณธรรม จริยธรรมกลับเสื่อมถอยลง มีการแพร่กระจายของสารเสพติด โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนส่วนหนึ่งมีการเสพสื่อต่างๆ อย่างขาดการยั้งคิด เปิดรับบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ไม่สร้างสรรค์ ขาดการไตร่ตรองหรือขาดภูมิคุ้มกันทางความคิด ส่งผลให้มีพฤติกรรมเบี่ยงเบน ล่อแหลมต่อการทำผิดกฎหมาย หมิ่นเหม่ต่อศีลธรรมอันดีงามและมีค่านิยมที่ไม่พึงประสงค์ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน [สพฐ.], 2552: 6) นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านธรรมชาติ ซึ่งพบว่าในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา อุณหภูมิโลกสูงขึ้นโดยเฉลี่ย 0.2 องศาเซลเซียสต่อทศวรรษ ส่งผลให้สภาพภูมิอากาศแปรปรวน ก่อให้เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยครั้งและทวีความรุนแรง (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2554) สภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นภัยคุกคามที่มีผลต่อความปลอดภัยของเด็กและเยาวชน การดำรงชีวิตของเด็กและเยาวชนในปัจจุบันจึงอยู่ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและขาดการดูแลอย่างแท้จริง (พร้อมพิไล บัวสุวรรณ, 2551: 161)รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้กำหนดหน้าที่ของรัฐตามมาตรา 80 รัฐต้องดำเนินการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบ ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม อีกทั้งต้องคุ้มครอง พัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาคทั้งหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัว (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, 2550: 23) นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มีจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553, 2553: 3)โรงเรียนนับว่าเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญต่อเด็กมาก ทั้งนี้เนื่องจากเด็กจะต้องใช้ชีวิตอยู่วันละ 6 – 7 ชั่วโมง ความรู้ ทัศนคติ ค่านิยม และประสบการณ์ต่างๆ ที่เด็กได้รับในโรงเรียน ย่อมมีอิทธิพลต่อจิตใจ ความสนใจ และอุดมคติในชีวิตการเรียนต่อไปจนถึงชีวิตในการทำงานของเด็กทุกคน ประการสำคัญโรงเรียนเป็นสถาบันที่จะสร้างเสริมประชาชนให้มีสุขภาพดี มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัย สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข และทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติได้เต็มความสามารถ (เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์, 2548: 101) ความปลอดภัยในสถานศึกษาจึงเป็นสิ่งสำคัญ ที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์จะประสบความสำเร็จพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับการเรียนรู้อย่างมีความสุขและการได้รับการปกป้องคุ้มครองให้มีความปลอดภัย กล่าวคือถ้าการศึกษาคือความเจริญงอกงาม บุคคลจะเจริญงอกงามต้องมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย เช่นเดียวกับประเทศอังกฤษ อเมริกา นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และฟิลิปปินส์ ประเทศเหล่านี้ให้ความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยเป็นลำดับแรกในการบริหารสถานศึกษา (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2537: 134)จากการศึกษาข้อมูลที่เกิดขึ้นกับเด็กที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาพบว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันมี อุบัติเหตุ อุบัติภัย และความรุนแรงเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาควรตระหนักและให้ความสำคัญ เพราะนักเรียนเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญของการจัดการศึกษา ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง ชุมชน จึงต้องแสวงหาหนทางที่ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข ได้รับการปลูกฝังเรื่องความปลอดภัยจนเกิดเป็นนิสัย อีกทั้งมีทักษะชีวิตในการดำรงชีพอยู่ท่ามกลางกระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลงและพัฒนาตนเองสู่ความเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจะได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปใช้ในการบริหารจัดการเรื่องความปลอดภัยของสถานศึกษา เพื่อให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3)พ.ศ. 2553 | '''บทนำ''' สถานการณ์ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะทางด้านเศรษฐกิจ ที่กลายเป็นตัวกระตุ้นที่สำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหา ความรุนแรง การเอารัดเอาเปรียบ ส่วนทางด้านสังคม เป็นสังคมแห่งการแข่งขัน มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี แต่ด้านคุณธรรม จริยธรรมกลับเสื่อมถอยลง มีการแพร่กระจายของสารเสพติด โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนส่วนหนึ่งมีการเสพสื่อต่างๆ อย่างขาดการยั้งคิด เปิดรับบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ไม่สร้างสรรค์ ขาดการไตร่ตรองหรือขาดภูมิคุ้มกันทางความคิด ส่งผลให้มีพฤติกรรมเบี่ยงเบน ล่อแหลมต่อการทำผิดกฎหมาย หมิ่นเหม่ต่อศีลธรรมอันดีงามและมีค่านิยมที่ไม่พึงประสงค์ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน [สพฐ.], 2552: 6) นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านธรรมชาติ ซึ่งพบว่าในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา อุณหภูมิโลกสูงขึ้นโดยเฉลี่ย 0.2 องศาเซลเซียสต่อทศวรรษ ส่งผลให้สภาพภูมิอากาศแปรปรวน ก่อให้เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยครั้งและทวีความรุนแรง (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2554) สภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นภัยคุกคามที่มีผลต่อความปลอดภัยของเด็กและเยาวชน การดำรงชีวิตของเด็กและเยาวชนในปัจจุบันจึงอยู่ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและขาดการดูแลอย่างแท้จริง (พร้อมพิไล บัวสุวรรณ, 2551: 161)รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้กำหนดหน้าที่ของรัฐตามมาตรา 80 รัฐต้องดำเนินการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบ ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม อีกทั้งต้องคุ้มครอง พัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาคทั้งหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัว (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, 2550: 23) นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มีจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553, 2553: 3)โรงเรียนนับว่าเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญต่อเด็กมาก ทั้งนี้เนื่องจากเด็กจะต้องใช้ชีวิตอยู่วันละ 6 – 7 ชั่วโมง ความรู้ ทัศนคติ ค่านิยม และประสบการณ์ต่างๆ ที่เด็กได้รับในโรงเรียน ย่อมมีอิทธิพลต่อจิตใจ ความสนใจ และอุดมคติในชีวิตการเรียนต่อไปจนถึงชีวิตในการทำงานของเด็กทุกคน ประการสำคัญโรงเรียนเป็นสถาบันที่จะสร้างเสริมประชาชนให้มีสุขภาพดี มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัย สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข และทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติได้เต็มความสามารถ (เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์, 2548: 101) ความปลอดภัยในสถานศึกษาจึงเป็นสิ่งสำคัญ ที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์จะประสบความสำเร็จพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับการเรียนรู้อย่างมีความสุขและการได้รับการปกป้องคุ้มครองให้มีความปลอดภัย กล่าวคือถ้าการศึกษาคือความเจริญงอกงาม บุคคลจะเจริญงอกงามต้องมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย เช่นเดียวกับประเทศอังกฤษ อเมริกา นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และฟิลิปปินส์ ประเทศเหล่านี้ให้ความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยเป็นลำดับแรกในการบริหารสถานศึกษา (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2537: 134)จากการศึกษาข้อมูลที่เกิดขึ้นกับเด็กที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาพบว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันมี อุบัติเหตุ อุบัติภัย และความรุนแรงเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาควรตระหนักและให้ความสำคัญ เพราะนักเรียนเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญของการจัดการศึกษา ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง ชุมชน จึงต้องแสวงหาหนทางที่ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข ได้รับการปลูกฝังเรื่องความปลอดภัยจนเกิดเป็นนิสัย อีกทั้งมีทักษะชีวิตในการดำรงชีพอยู่ท่ามกลางกระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลงและพัฒนาตนเองสู่ความเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจะได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปใช้ในการบริหารจัดการเรื่องความปลอดภัยของสถานศึกษา เพื่อให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3)พ.ศ. 2553 | ||
+ | |||
+ | |||
'''วัตถุประสงค์ ''' เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน | '''วัตถุประสงค์ ''' เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน | ||
'''วิธีดำเนินการวิจัย ''' ''แหล่งข้อมูลสำหรับการวิจัย''ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 2,360 แห่ง กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 342 คน และผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา จำนวน 342 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้นจำนวน 684 คน ''เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย'' เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) และคำถามปลายเปิด (Open-ended) ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale)''การเก็บรวบรวมข้อมูล''1)ผู้วิจัยขอหนังสือราชการจากงานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ฝ่ายวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2)ผู้วิจัยดำเนินการเก็บข้อมูลทางไปรษณีย์และด้วยตัวเอง 3)ผู้วิจัยตรวจคัดเลือกแบบสอบถามที่ครบถ้วนและสมบูรณ์เพื่อนำไปวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป '''การวิเคราะห์ข้อมูล'''ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) และหาค่าร้อยละ (Percentage) นำเสนอเป็นตารางประกอบความเรียง ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) หาค่าร้อยละ (Percentage) สำหรับส่วนที่เป็นคำถามปลายเปิด (Open-end) นำมาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วแสดงค่าความถี่ ตอนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา วิเคราะห์ โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) | '''วิธีดำเนินการวิจัย ''' ''แหล่งข้อมูลสำหรับการวิจัย''ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 2,360 แห่ง กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 342 คน และผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา จำนวน 342 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้นจำนวน 684 คน ''เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย'' เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) และคำถามปลายเปิด (Open-ended) ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale)''การเก็บรวบรวมข้อมูล''1)ผู้วิจัยขอหนังสือราชการจากงานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ฝ่ายวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2)ผู้วิจัยดำเนินการเก็บข้อมูลทางไปรษณีย์และด้วยตัวเอง 3)ผู้วิจัยตรวจคัดเลือกแบบสอบถามที่ครบถ้วนและสมบูรณ์เพื่อนำไปวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป '''การวิเคราะห์ข้อมูล'''ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) และหาค่าร้อยละ (Percentage) นำเสนอเป็นตารางประกอบความเรียง ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) หาค่าร้อยละ (Percentage) สำหรับส่วนที่เป็นคำถามปลายเปิด (Open-end) นำมาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วแสดงค่าความถี่ ตอนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา วิเคราะห์ โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) | ||
+ | |||
'''สรุปผลการวิจัย'''''สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม''ผู้บริหารสถานศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุอยู่ระหว่าง 46 - 55 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาโท ประสบการณ์ทำงานในตำแหน่งผู้บริหาร 13 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่เข้ารับการอบรม/สัมมนาเกี่ยวกับการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา และได้รับคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 | '''สรุปผลการวิจัย'''''สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม''ผู้บริหารสถานศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุอยู่ระหว่าง 46 - 55 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาโท ประสบการณ์ทำงานในตำแหน่งผู้บริหาร 13 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่เข้ารับการอบรม/สัมมนาเกี่ยวกับการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา และได้รับคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 | ||
- | + | ส่วนผู้รับผิดชอบดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย อายุอยู่ระหว่าง 46 – 55 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ประสบการณ์ทำงานในการทำงานด้านการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา 6 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่ไม่เคยเข้ารับการอบรม/สัมมนาเกี่ยวกับการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา และได้รับคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2552 ''สภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน''ผู้วิจัยขอนำเสนอมาตรการรักษาความปลอดภัยตามคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา 6 ด้าน โดยที่มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุและมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมเท่านั้นที่มีรายการย่อยประกอบ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ | |
+ | |||
+ | 1.มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ พบว่า | ||
+ | 1.1)อุบัติเหตุจากอาคารเรียน อาคารประกอบ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการแต่งตั้งบุคคลในการดูแลรักษาอาคารสถานที่ การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการติดตั้งอุปกรณ์และจัดสภาพห้องน้ำห้องส้วมที่เหมาะสมกับวัยและลักษณะของผู้ใช้งาน เช่น นักเรียน คนพิการ ผู้สูงอายุ | ||
+ | 1.2)อุบัติเหตุจากบริเวณสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดให้มีผู้รับผิดชอบและตรวจสอบความปลอดภัยของบริเวณสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการบันทึกเก็บสถิติจุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งในสนามกีฬาเพื่อหาทางป้องกัน | ||
+ | 1.3)อุบัติเหตุจากสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหลักสูตร ให้นักเรียนรู้จักการรักษาสภาพแวดล้อมและพัฒนาชุมชน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการโดยใช้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีส่วนร่วม | ||
+ | 1.4)อุบัติเหตุจากเครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ต่างๆ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบสภาพความพร้อม ความปลอดภัยและซ่อมแซมให้พร้อมในการใช้งาน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดทำคู่มือการใช้และการบำรุงรักษา | ||
+ | 1.5)อุบัติเหตุจากการเดินทางไป – กลับ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดครูเวรปฏิบัติหน้าที่ดูแลการใช้รถใช้ถนนของนักเรียนบริเวณหน้าสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดทำทะเบียนรถทุกชนิด ทุกประเภทที่รับ – ส่งนักเรียน | ||
+ | 1.6)อุบัติเหตุจากการพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ จัดให้มีครูในการควบคุมดูแล ให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการตรวจสอบบริษัทและคนขับยานพาหนะที่จ้างให้มีความเชื่อถือได้ในการขับขี่ | ||
+ | 1.7)อุบัติเหตุจากการร่วมกิจกรรมสำคัญ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการกำหนดบุคลากรในการควบคุมดูแล ให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการหลีกเลี่ยงการใช้ลูกโป่งอัดแก๊สในงานที่ไม่จำเป็น สรุปได้ว่า ในเรื่องมาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการแต่งตั้งบุคลากรในการดูแลรักษาอาคารสถานที่และมีการจัดให้มีครูในการควบคุมดูแล ให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียนในการพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการบันทึกเก็บสถิติจุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งในสนามกีฬาเพื่อหาทางป้องกัน | ||
+ | |||
+ | 2.มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดให้ครูและนักการภารโรงอยู่เวรยามรักษาความปลอดภัยอย่างเคร่งครัดในแต่ละวันและยามวิกาล การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการติดตั้งระบบสัญญาณเตือนภัยพร้อมแผนผังการหนีไฟ ประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบและฝึกซ้อม | ||
+ | |||
+ | 3.มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคม พบว่า | ||
+ | 3.1)การล่วงละเมิดทางร่างกายและจิตใจ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดบรรยากาศภายในห้องเรียนและสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาให้มีความปลอดภัย และมีการใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการตรวจสอบแหล่งจำหน่ายหนังสือการ์ตูนและวารสาร ยั่วยุรอบบริเวณโรงเรียนอย่าให้มีขึ้น | ||
+ | 3.2) การทำร้ายตัวเองและฆ่าตัวตาย การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดกิจกรรมธรรมะและการส่งเสริมพัฒนาสภาพจิตใจนักเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดหาจิตแพทย์เข้ามาศึกษาและให้ความรู้แก่นักเรียนในเรื่องจิตใจ 3.3)การเสพสารเสพติด การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างการยอมรับทางสังคม เช่น TO BE NUMBER ONE เวทีคนเก่ง อย.น้อย การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดกิจกรรมคืนคนดีสู่สังคมเพื่อให้โอกาสนักเรียนที่เคยติดสารเสพติด | ||
+ | 3.4)การอุปโภคบริโภค การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการโภชนาการเพื่อกำกับติดตามดูแลและควบคุมคุณภาพอาหารและเครื่องดื่ม การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ จัดให้มีการวิจัยอาหารกลางวันที่จัดทำหรือจำหน่ายให้เกิดประโยชน์ในเชิงโภชนาการ | ||
+ | 3.5)การทะเลาะวิวาท การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดให้มีหน่วยเคลื่อนที่เร็ว เพื่อเข้าระงับเหตุกรณีที่มีการทะเลาะวิวาท | ||
+ | 3.6)การถูกล่อลวงและการลักพา การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดระบบรักษาความปลอดภัย จัดเวรยาม เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยในสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดกิจกรรมฟื้นฟูสภาพจิตใจให้กับผู้ได้รับผลกระทบ | ||
+ | 3.7)สื่อลามกอนาจาร การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการดำเนินการควบคุมการดูแลการนำข้อมูลข่าวสารและสื่อบันเทิงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศไม่ให้เข้ามาเผยแพร่ในสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องในการตรวจตรา ควบคุมดูแล สื่อลามกอนาจารตามแหล่งจำหน่ายรอบบริเวณโรงเรียน | ||
+ | 3.8)อบายมุข การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการกำกับติดตาม การมาเรียนของนักเรียนจากครูฝ่ายปกครอง ครูที่ปรึกษาพร้อมทั้งประสานงานกับ ผู้ปกครองในการเดินทางไป – กลับระหว่างบ้านและโรงเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดทำการสำรวจแหล่งอบายมุขหรือแหล่งมั่วสุม โดยจัดทำเป็นข้อมูลแผนที่ตั้งเพื่อการประสานงานกับครู ผู้รับผิดชอบผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ตำรวจ | ||
+ | 3.9)พฤติกรรมชู้สาว การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการประสานงานเชิญผู้ปกครองมารับทราบปัญหา และร่วมมือช่วยกันแก้ไขปัญหาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่เหมาะสม การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ ให้ฝ่ายกิจการนักเรียนเข้มงวดและตรวจตราสภาพที่พักของเด็กที่อยู่ตามหอพักและสถานที่ที่ไม่ใช่ผู้ปกครอง | ||
+ | 3.10)อินเตอร์เน็ตและเกม การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดให้บริการอินเทอร์เน็ตกับนักเรียนในช่วงเวลาที่เหมาะสมตามบริบทของโรงเรียน และให้มีครูควบคุมดูแล การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดตั้งอาสาสมัครนักเรียนคอยตรวจสอบเว็บไซต์ หรือจัดให้ติดตั้งโปรแกรมตรวจจับเว็บไซต์ที่ไม่พึงประสงค์ และแจ้งให้หน่วยงานที่รับผิดชอบทราบ (กระทรวง ICT)สรุปได้ว่า ในเรื่องมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางด้านสังคม การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดหาจิตแพทย์เข้ามาศึกษาและให้ความรู้แก่นักเรียนในเรื่องจิตใจ | ||
+ | |||
+ | 4.มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการกำจัดของเสียในสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดเรียนร่วมระหว่างเด็กที่มีปัญหาทางด้านพฤติกรรมอารมณ์กับเด็กปกติ | ||
+ | |||
+ | 5.มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสัตว์มีพิษ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งต้นไม้ กำจัดแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดทำป้ายเตือนภัยจากสัตว์มีพิษในบริเวณที่เป็นจุดเสี่ยง | ||
+ | |||
6.มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการสู้รบและความไม่สงบ การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการซักซ้อมการอพยพ จัดทำหลุมหลบภัย และจัดหาที่พักพิงชั่วคราวไว้ล่วงหน้า ในกรณีที่อาจจะเกิดการสู้รบและความไม่สงบ ''ปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน''ปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา พบว่าภาพรวมอยู่ในระดับน้อยและน้อยที่สุดโดยมีปัญหาในการปฏิบัติงานในระดับน้อย 2 ด้าน คือ ด้านอุบัติเหตุและด้านอุบัติภัย และมีปัญหาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด 4 ด้าน คือ ด้านปัญหาทางสังคม ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน ด้านสัตว์มีพิษและด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ พิจารณารายด้านมีรายละเอียด ดังนี้ ปัญหาด้านอุบัติเหตุ อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดงบประมาณ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดการเตรียมการและวางแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจนก่อนพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านอุบัติภัย อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์ในการป้องกันอัคคีภัย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดการตรวจสอบและแก้ไขปัจจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายที่เกิดจากอุทกภัย มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาทางด้านสังคม อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดการนำข้อมูลที่เกิดขึ้นแก่นักเรียนโดยทั่วไปมาวางแผนด้านการดำเนินการรักษาความปลอดภัยให้แก่นักเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดการออกระเบียบว่าด้วยการเข้าออกโรงเรียนของนักเรียนอย่างชัดเจน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดบุคลากรที่มีความสามารถในการแก้ไขนักเรียนที่มีพฤติกรรมด้านอารมณ์ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และทำเลที่ตั้งของโรงเรียนอยู่ใกล้โรงงานอุตสาหกรรมก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของนักเรียน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านสัตว์มีพิษ อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ครูขาดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดบุคลากรในการจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งต้นไม้ กำจัดแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ขาดงบประมาณในการจัดทำหลุมหลบภัย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และหลุมหลบภัยไม่ได้มาตรฐานและไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด | 6.มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการสู้รบและความไม่สงบ การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการซักซ้อมการอพยพ จัดทำหลุมหลบภัย และจัดหาที่พักพิงชั่วคราวไว้ล่วงหน้า ในกรณีที่อาจจะเกิดการสู้รบและความไม่สงบ ''ปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน''ปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา พบว่าภาพรวมอยู่ในระดับน้อยและน้อยที่สุดโดยมีปัญหาในการปฏิบัติงานในระดับน้อย 2 ด้าน คือ ด้านอุบัติเหตุและด้านอุบัติภัย และมีปัญหาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด 4 ด้าน คือ ด้านปัญหาทางสังคม ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน ด้านสัตว์มีพิษและด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ พิจารณารายด้านมีรายละเอียด ดังนี้ ปัญหาด้านอุบัติเหตุ อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดงบประมาณ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดการเตรียมการและวางแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจนก่อนพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านอุบัติภัย อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์ในการป้องกันอัคคีภัย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดการตรวจสอบและแก้ไขปัจจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายที่เกิดจากอุทกภัย มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาทางด้านสังคม อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดการนำข้อมูลที่เกิดขึ้นแก่นักเรียนโดยทั่วไปมาวางแผนด้านการดำเนินการรักษาความปลอดภัยให้แก่นักเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดการออกระเบียบว่าด้วยการเข้าออกโรงเรียนของนักเรียนอย่างชัดเจน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดบุคลากรที่มีความสามารถในการแก้ไขนักเรียนที่มีพฤติกรรมด้านอารมณ์ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และทำเลที่ตั้งของโรงเรียนอยู่ใกล้โรงงานอุตสาหกรรมก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของนักเรียน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านสัตว์มีพิษ อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ครูขาดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดบุคลากรในการจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งต้นไม้ กำจัดแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ขาดงบประมาณในการจัดทำหลุมหลบภัย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และหลุมหลบภัยไม่ได้มาตรฐานและไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด | ||
+ | |||
'''อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ''' ''สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม''จากผลการศึกษาพบว่า ครึ่งหนึ่งของผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยไม่เคยมีประสบการณ์เข้ารับการอบรม/สัมมนาในเรื่องนี้ ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะมีการอบรมเรื่องนี้ให้กับผู้บริหารแล้ว โดยคาดว่าผู้บริหารจะนำไปถ่ายทอดต่อซึ่งตรงกับผลการวิจัยที่พบว่าผู้บริหารได้รับการอบรมมากกว่าผู้รับผิดชอบ อย่างไรก็ตามผู้วิจัยยังเห็นว่าสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอาจไม่มีนโยบายที่ชัดเจนในการจัดอบรมหรือให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยของสถานศึกษาซึ่งสอดคล้องกับผลวิจัยของ ชัด แก้วมณี (2545) ที่ศึกษาสภาพและปัญหาการจัดบริการความปลอดภัยในโรงเรียนอนุบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 3 พบว่า ส่วนใหญ่ไม่เคยเข้ารับการอบรม ผู้วิจัยเห็นว่าควรมีการจัดอบรมให้กับผู้รับผิดชอบทั้งก่อนการมอบหมายหน้าที่และในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งสอดคล้องกับ ณัฎฐิยา แก้วถาวร (2551: 149) ที่กล่าวว่า การจัดอบรมครูด้านความปลอดภัยในโรงเรียนเป็นสิ่งที่สำคัญทุกโรงเรียนควรให้ความสำคัญในการจัดอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยในโรงเรียน จากการวิจัยที่พบว่ามีผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ไม่ได้รับคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 ผู้วิจัยเห็นว่าเป็นเรื่องสำคัญ เนื่องจากเมื่อไม่ได้รับคู่มือ อาจทำให้ไม่มีแนวทางหรือวิธีการปฏิบัติที่ชัดเจน ในความเป็นจริงแล้วสถานศึกษาทุกแห่งควรได้รับคู่มือ เนื่องจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีการจัดทำคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 ให้กับสถานศึกษา สถานศึกษาละ 1 เล่ม (จุลพงษ์ จุลสุคนธ์, สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554) ที่เป็นดังนี้อาจเนื่องมาจากไม่ได้มีการตรวจสอบการรับคู่มืออย่างเป็นรูปธรรม อีกทั้งขาดการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามคู่มืออย่างเป็นระบบ | '''อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ''' ''สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม''จากผลการศึกษาพบว่า ครึ่งหนึ่งของผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยไม่เคยมีประสบการณ์เข้ารับการอบรม/สัมมนาในเรื่องนี้ ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะมีการอบรมเรื่องนี้ให้กับผู้บริหารแล้ว โดยคาดว่าผู้บริหารจะนำไปถ่ายทอดต่อซึ่งตรงกับผลการวิจัยที่พบว่าผู้บริหารได้รับการอบรมมากกว่าผู้รับผิดชอบ อย่างไรก็ตามผู้วิจัยยังเห็นว่าสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอาจไม่มีนโยบายที่ชัดเจนในการจัดอบรมหรือให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยของสถานศึกษาซึ่งสอดคล้องกับผลวิจัยของ ชัด แก้วมณี (2545) ที่ศึกษาสภาพและปัญหาการจัดบริการความปลอดภัยในโรงเรียนอนุบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 3 พบว่า ส่วนใหญ่ไม่เคยเข้ารับการอบรม ผู้วิจัยเห็นว่าควรมีการจัดอบรมให้กับผู้รับผิดชอบทั้งก่อนการมอบหมายหน้าที่และในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งสอดคล้องกับ ณัฎฐิยา แก้วถาวร (2551: 149) ที่กล่าวว่า การจัดอบรมครูด้านความปลอดภัยในโรงเรียนเป็นสิ่งที่สำคัญทุกโรงเรียนควรให้ความสำคัญในการจัดอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยในโรงเรียน จากการวิจัยที่พบว่ามีผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ไม่ได้รับคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 ผู้วิจัยเห็นว่าเป็นเรื่องสำคัญ เนื่องจากเมื่อไม่ได้รับคู่มือ อาจทำให้ไม่มีแนวทางหรือวิธีการปฏิบัติที่ชัดเจน ในความเป็นจริงแล้วสถานศึกษาทุกแห่งควรได้รับคู่มือ เนื่องจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีการจัดทำคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 ให้กับสถานศึกษา สถานศึกษาละ 1 เล่ม (จุลพงษ์ จุลสุคนธ์, สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554) ที่เป็นดังนี้อาจเนื่องมาจากไม่ได้มีการตรวจสอบการรับคู่มืออย่างเป็นรูปธรรม อีกทั้งขาดการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามคู่มืออย่างเป็นระบบ | ||
เป็นเรื่องที่น่าสังเกตว่าแม้ว่าไม่ได้รับคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา แต่กลับพบว่ามีการดำเนินงานตามมาตรการในทุกด้านและพบว่าปัญหาการดำเนินงานอยู่ในระดับน้อยที่สุด ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะ 1)มีการจัดอบรมให้กับผู้บริหารสถานศึกษาในเรื่องนี้มาแล้ว 2)ผู้บริหารสถานศึกษาอาจจะถ่ายทอดความรู้ที่ได้จากการอบรมให้กับครูผู้รับผิดชอบและบุคลากรในสถานศึกษาให้ช่วยกันดูแลเรื่องความปลอดภัยของนักเรียน 3)ในการสร้างอาคารเรียนหรืออาคารประกอบต่างๆ ของสถานศึกษาใช้แบบที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้ออกแบบให้มีความปลอดภัยอยู่แล้ว 4)ผู้บริหารสถานศึกษาและคณะครูอาจจะดูแลเรื่องความปลอดภัยเป็นประจำตามปกติ ทั้งหมดที่ได้กล่าวมานี้จะเห็นได้ว่าผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญ ผู้วิจัยเห็นว่าผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีประสบการณ์และผ่านเหตุการณ์ต่างๆ มากมาย จึงทำให้ผลการวิจัยพบว่ามีการดำเนินการตามมาตรการรักษาความปลอดภัยทุกด้าน และมีปัญหาในการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับ ธงชัย สันติวงษ์และชัยยศ สันติวงษ์ (2548: 104) ที่กล่าวว่า ปัจจัยหรือตัวแปรภายในตัวบุคคลที่มีผลกระทบต่อทั้งปริมาณและคุณภาพของงานอย่างหนึ่ง คือ ประสบการณ์การทำงาน ''สภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน'' ผู้วิจัยขอนำเสนอเป็นด้านๆ แบ่งตามมาตรการป้องกันและแก้ไข 6 ด้าน ดังนี้ 1)มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการแต่งตั้งบุคลากรในการดูแลรักษาอาคารสถานที่ มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ วิไล กวางศรี (2550) ที่ศึกษาบทบาทผู้บริหารในการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษาพบว่า บทบาทของผู้บริหารด้านการจัดตั้งคณะกรรมการมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับ ธีรวัฒน์ สมเพาะ (2551) ที่ศึกษาการจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา พบว่าด้านการพัฒนากลุ่มความปลอดภัยในสถานศึกษาได้มีการมอบหมายให้หัวหน้าอาคารสถานที่เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดการความปลอดภัย และสอดคล้องกับ ชาญ ขวัญมุข (2544) ได้ศึกษาเรื่องการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา พบว่า สภาพการดำเนินการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียน ด้านการวางแผนการประกันความปลอดภัย มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียน อยู่ในระดับมาก จากผลการศึกษาที่พบว่าการปฏิบัติมากที่สุดอีกอย่างหนึ่งคือ สถานศึกษาจัดให้มีครูในการควบคุมดูแล ให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียนในการพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ ซึ่งสอดคล้องกับระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548 ที่กล่าวว่าในการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษานั้น ให้หัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมายเป็นผู้ควบคุม และจะต้องมีครูเป็นผู้ช่วยผู้ควบคุมดูแลในการเดินทาง โดยครูหนึ่งคนต่อนักเรียนหรือนักศึกษาไม่เกิน 30 คน (ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548, 2548: 2) 2)มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการจัดครูและนักการ ภารโรงอยู่เวรยามรักษาความปลอดภัยอย่างเคร่งครัดในแต่ละวันและยามวิกาล มีการปฏิบัติมากที่สุด สอดคล้องกับวิจิตร บุณหะโหตระ (2530: 198) ที่กล่าวว่าการจัดตั้งคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยในหน่วยงาน เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้การป้องกันอุบัติภัยได้ผลดี ไม่ว่าคณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นนั้นจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544) ที่พบว่าสภาพการดำเนินการประกันความปลอดภัยด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย ข้อที่มีการดำเนินการสูงสุด คือ ครูและนักการภารโรงอยู่เวรยามอย่างเคร่งครัด 3)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสังคม จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษาดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ณัฎฐิยา แก้วถาวร (2551) ได้ศึกษาการจัดการความปลอดภัยในโรงเรียนประถมศึกษา พบว่าโรงเรียนมีการดำเนินการสร้างความปลอดภัยด้านระบบคุ้มครองเด็ก มีการป้องกันเด็กก่อพฤติกรรมรุนแรง โดยใช้วิธีการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ชัดเจน นำไปสู่การวางแผนให้ความช่วยเหลือนักเรียน และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ดุษณีย์ ทองเกลี้ยง (2546) ที่ศึกษาสถานการณ์ความรุนแรงและการป้องกันในโรงเรียนมัธยมศึกษา พบว่า ครูส่วนใหญ่ให้ความสำคัญ 3 อันดับแรกคือ มีการคัดกรองและดูแลช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง มีบัตรประจำตัวนักเรียนทุกคน และกำหนดนโยบายไม่ให้นักเรียนพกพาอาวุธ 4)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการกำจัดของเสียในสถานศึกษา มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการกำจัดของเสียในสถานศึกษา ที่ว่าสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในเขตชุมชน ต้องมีการรวบรวมขยะหรือของเสียที่สามารถเก็บขนได้ไว้ในสถานที่ที่เหมาะสมและมีเวลาจัดเก็บที่แน่นอน (สพฐ., 2552: 72) 5)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสัตว์มีพิษจากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งต้นไม้ กำจัดแหล่งทีอยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2552: 89) ได้กำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสัตว์มีพิษไว้ว่า สถานศึกษาต้องจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งต้นไม้ กำจัดแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ เพื่อให้มีความปลอดภัยแก่นักเรียน 6)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการสู้รบและความไม่สงบ มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (2552: 90) ได้กำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบไว้ว่า สถานศึกษาต้องมีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการสู้รบและความไม่สงบ ''ปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน''ด้านอุบัติเหตุ จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านอุบัติเหตุจัดอยู่ในระดับน้อย ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544: 107) ที่ศึกษาการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถม ศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า ปัญหาด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ขาดงบประมาณ สอดคล้องผลวิจัยของ รสสุคนธ์ วัฒนรุกข์ (2545) ได้ศึกษาสภาพและปัญหาในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กอนุบาลของโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร พบว่ารายการที่มีปัญหาในการปฏิบัติ มากที่สุด คือ โรงเรียนขาดงบประมาณในการปรับปรุงสภาพแวดล้อม นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ วรนุช อยู่เล่ห์ (2550: 87) ที่ศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท พบว่า ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมส่งแสริมความปลอดภัย คือ มีปัญหาด้านงบประมาณ และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ วิไล กวางศรี (2550) ได้ศึกษาเกี่ยวกับบทบาทผู้บริหารในการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา พบว่ามีปัญหาในด้านการขาดงบประมาณ และขาดการสนับสนุนช่วยเหลือจากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านอุบัติภัย จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านอุบัติภัยจัดอยู่ในระดับน้อย ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544: 107) ที่ศึกษาการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า ปัญหาด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขาดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์ในการป้องกันอัคคีภัย ผู้วิจัยเห็นว่าสถานศึกษาควรมีแนวทางในการส่งเสริมงบประมาณที่ชัดเจน ซึ่งสอดคล้องกับ (ณัฏฐิยา แก้วถาวร, 2551: 169 – 170) ที่กล่าวว่าสถานศึกษาควรกำหนดเป็นนโยบาย และนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติจริง จัดสรรและสนับสนุนงบประมาณเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง รวมถึงการระดมทรัพยากรต่างๆ จากแหล่งเงินทุนในท้องถิ่น ทั้งภาครัฐเอกชน เช่น การทอดผ้าป่าการศึกษา เพื่อระดมทุนจากชุมชน ที่อยู่รอบบริเวณโรงเรียน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ด้านปัญหาทางสังคม จากผลการศึกษาพบว่าด้านปัญหาสังคมจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544: 108) ที่ศึกษาการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า ปัญหาด้านการป้องกันแก้ไขภัยที่เกิดจากสภาพแวดล้อมทางสังคม โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขาดการนำข้อมูลที่เกิดขึ้นแก่นักเรียนโดยทั่วไปมาวางแผนด้านการดำเนินการรักษาความปลอดภัยให้แก่นักเรียน ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียนจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขาดบุคลากรที่มีความสามารถในการแก้ไขนักเรียนที่มีพฤติกรรมด้านอารมณ์ ซึ่งสอดคล้องผลวิจัยของ ณัฏฐนันท์ ปั้นลายนาค (2552) ที่ศึกษาการพัฒนาระบบการบริหารโรงเรียนประถม สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยแบบองค์รวม พบว่า สภาพและปัญหาการส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่โรงเรียนเคยประสบและกำลังประสบคือขาดครูที่มีความรู้เฉพาะทางด้านอนามัย และสอดคล้องกับผลวิจัยของ วรนุช อยู่เล่ห์ (2550: 88) ที่ศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท พบว่า ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย คือ ปัญหาด้านบุคลากรที่ไม่มีบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะ และไม่มีเวลาแก้ไขเด็กอย่างจริงจัง ด้านสัตว์มีพิษ จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านสัตว์มีพิษจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ครูขาดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ ซึ่งสอดคล้องผลวิจัยของ ของ ชัด แก้วมณี (2545: 94) ที่ศึกษาสภาพและปัญหาการจัดบริการความปลอดภัยในโรงเรียนอนุบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 3 พบว่า โรงเรียนพบปัญหาและอุปสรรคในด้านการบริการความปลอดภัยเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินงานว่า โรงเรียนมีการกำหนดนโยบายแต่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติของครู และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ วรนุช อยู่เล่ห์ (2550: 88) ที่ศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท พบว่า ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย คือ ปัญหาด้านบุคลากรที่มีอายุมาก และขาดความร่วมมือของบุคลากร ด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านผลกระทบจากการ สู้รบและความไม่สงบจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะผู้วิจัยไม่ได้แยกคำตอบระหว่างโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีการสู้รบและความไม่สงบออกจากโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเขตปกติ อย่างไรก็ตามตามมาตรฐานสากลแล้ว สำหรับการรักษาความปลอดภัยในด้านนี้ ไม่ว่าโรงเรียนจะตั้งอยู่ในเขตสู้รบหรือได้รับผลกระทบจากการสู้รบหรือไม่ การดำเนินตามมาตรการดังกล่าวอย่างเคร่งครัดส่งผลให้สถานศึกษามีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น (สพฐ, 2552: 90) สำหรับปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ขาดงบประมาณในการจัดทำหลุมหลบภัย ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะในกลุ่มโรงเรียนที่ห่างไกลจากเขตการสู้รบไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องมีหลุมหลบภัย แต่ในกรณีของโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ รัฐควรจัดงบประมาณในเรื่องนี้ให้กับโรงเรียนดังกล่าวเป็นอย่างยิ่ง | เป็นเรื่องที่น่าสังเกตว่าแม้ว่าไม่ได้รับคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา แต่กลับพบว่ามีการดำเนินงานตามมาตรการในทุกด้านและพบว่าปัญหาการดำเนินงานอยู่ในระดับน้อยที่สุด ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะ 1)มีการจัดอบรมให้กับผู้บริหารสถานศึกษาในเรื่องนี้มาแล้ว 2)ผู้บริหารสถานศึกษาอาจจะถ่ายทอดความรู้ที่ได้จากการอบรมให้กับครูผู้รับผิดชอบและบุคลากรในสถานศึกษาให้ช่วยกันดูแลเรื่องความปลอดภัยของนักเรียน 3)ในการสร้างอาคารเรียนหรืออาคารประกอบต่างๆ ของสถานศึกษาใช้แบบที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้ออกแบบให้มีความปลอดภัยอยู่แล้ว 4)ผู้บริหารสถานศึกษาและคณะครูอาจจะดูแลเรื่องความปลอดภัยเป็นประจำตามปกติ ทั้งหมดที่ได้กล่าวมานี้จะเห็นได้ว่าผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญ ผู้วิจัยเห็นว่าผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีประสบการณ์และผ่านเหตุการณ์ต่างๆ มากมาย จึงทำให้ผลการวิจัยพบว่ามีการดำเนินการตามมาตรการรักษาความปลอดภัยทุกด้าน และมีปัญหาในการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับ ธงชัย สันติวงษ์และชัยยศ สันติวงษ์ (2548: 104) ที่กล่าวว่า ปัจจัยหรือตัวแปรภายในตัวบุคคลที่มีผลกระทบต่อทั้งปริมาณและคุณภาพของงานอย่างหนึ่ง คือ ประสบการณ์การทำงาน ''สภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน'' ผู้วิจัยขอนำเสนอเป็นด้านๆ แบ่งตามมาตรการป้องกันและแก้ไข 6 ด้าน ดังนี้ 1)มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการแต่งตั้งบุคลากรในการดูแลรักษาอาคารสถานที่ มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ วิไล กวางศรี (2550) ที่ศึกษาบทบาทผู้บริหารในการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษาพบว่า บทบาทของผู้บริหารด้านการจัดตั้งคณะกรรมการมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับ ธีรวัฒน์ สมเพาะ (2551) ที่ศึกษาการจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา พบว่าด้านการพัฒนากลุ่มความปลอดภัยในสถานศึกษาได้มีการมอบหมายให้หัวหน้าอาคารสถานที่เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดการความปลอดภัย และสอดคล้องกับ ชาญ ขวัญมุข (2544) ได้ศึกษาเรื่องการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา พบว่า สภาพการดำเนินการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียน ด้านการวางแผนการประกันความปลอดภัย มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียน อยู่ในระดับมาก จากผลการศึกษาที่พบว่าการปฏิบัติมากที่สุดอีกอย่างหนึ่งคือ สถานศึกษาจัดให้มีครูในการควบคุมดูแล ให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียนในการพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ ซึ่งสอดคล้องกับระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548 ที่กล่าวว่าในการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษานั้น ให้หัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมายเป็นผู้ควบคุม และจะต้องมีครูเป็นผู้ช่วยผู้ควบคุมดูแลในการเดินทาง โดยครูหนึ่งคนต่อนักเรียนหรือนักศึกษาไม่เกิน 30 คน (ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548, 2548: 2) 2)มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการจัดครูและนักการ ภารโรงอยู่เวรยามรักษาความปลอดภัยอย่างเคร่งครัดในแต่ละวันและยามวิกาล มีการปฏิบัติมากที่สุด สอดคล้องกับวิจิตร บุณหะโหตระ (2530: 198) ที่กล่าวว่าการจัดตั้งคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยในหน่วยงาน เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้การป้องกันอุบัติภัยได้ผลดี ไม่ว่าคณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นนั้นจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544) ที่พบว่าสภาพการดำเนินการประกันความปลอดภัยด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย ข้อที่มีการดำเนินการสูงสุด คือ ครูและนักการภารโรงอยู่เวรยามอย่างเคร่งครัด 3)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสังคม จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษาดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ณัฎฐิยา แก้วถาวร (2551) ได้ศึกษาการจัดการความปลอดภัยในโรงเรียนประถมศึกษา พบว่าโรงเรียนมีการดำเนินการสร้างความปลอดภัยด้านระบบคุ้มครองเด็ก มีการป้องกันเด็กก่อพฤติกรรมรุนแรง โดยใช้วิธีการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ชัดเจน นำไปสู่การวางแผนให้ความช่วยเหลือนักเรียน และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ดุษณีย์ ทองเกลี้ยง (2546) ที่ศึกษาสถานการณ์ความรุนแรงและการป้องกันในโรงเรียนมัธยมศึกษา พบว่า ครูส่วนใหญ่ให้ความสำคัญ 3 อันดับแรกคือ มีการคัดกรองและดูแลช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง มีบัตรประจำตัวนักเรียนทุกคน และกำหนดนโยบายไม่ให้นักเรียนพกพาอาวุธ 4)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการกำจัดของเสียในสถานศึกษา มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการกำจัดของเสียในสถานศึกษา ที่ว่าสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในเขตชุมชน ต้องมีการรวบรวมขยะหรือของเสียที่สามารถเก็บขนได้ไว้ในสถานที่ที่เหมาะสมและมีเวลาจัดเก็บที่แน่นอน (สพฐ., 2552: 72) 5)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสัตว์มีพิษจากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งต้นไม้ กำจัดแหล่งทีอยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2552: 89) ได้กำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสัตว์มีพิษไว้ว่า สถานศึกษาต้องจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งต้นไม้ กำจัดแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ เพื่อให้มีความปลอดภัยแก่นักเรียน 6)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการสู้รบและความไม่สงบ มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (2552: 90) ได้กำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบไว้ว่า สถานศึกษาต้องมีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการสู้รบและความไม่สงบ ''ปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน''ด้านอุบัติเหตุ จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านอุบัติเหตุจัดอยู่ในระดับน้อย ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544: 107) ที่ศึกษาการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถม ศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า ปัญหาด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ขาดงบประมาณ สอดคล้องผลวิจัยของ รสสุคนธ์ วัฒนรุกข์ (2545) ได้ศึกษาสภาพและปัญหาในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กอนุบาลของโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร พบว่ารายการที่มีปัญหาในการปฏิบัติ มากที่สุด คือ โรงเรียนขาดงบประมาณในการปรับปรุงสภาพแวดล้อม นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ วรนุช อยู่เล่ห์ (2550: 87) ที่ศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท พบว่า ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมส่งแสริมความปลอดภัย คือ มีปัญหาด้านงบประมาณ และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ วิไล กวางศรี (2550) ได้ศึกษาเกี่ยวกับบทบาทผู้บริหารในการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา พบว่ามีปัญหาในด้านการขาดงบประมาณ และขาดการสนับสนุนช่วยเหลือจากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านอุบัติภัย จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านอุบัติภัยจัดอยู่ในระดับน้อย ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544: 107) ที่ศึกษาการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า ปัญหาด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขาดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์ในการป้องกันอัคคีภัย ผู้วิจัยเห็นว่าสถานศึกษาควรมีแนวทางในการส่งเสริมงบประมาณที่ชัดเจน ซึ่งสอดคล้องกับ (ณัฏฐิยา แก้วถาวร, 2551: 169 – 170) ที่กล่าวว่าสถานศึกษาควรกำหนดเป็นนโยบาย และนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติจริง จัดสรรและสนับสนุนงบประมาณเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง รวมถึงการระดมทรัพยากรต่างๆ จากแหล่งเงินทุนในท้องถิ่น ทั้งภาครัฐเอกชน เช่น การทอดผ้าป่าการศึกษา เพื่อระดมทุนจากชุมชน ที่อยู่รอบบริเวณโรงเรียน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ด้านปัญหาทางสังคม จากผลการศึกษาพบว่าด้านปัญหาสังคมจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544: 108) ที่ศึกษาการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า ปัญหาด้านการป้องกันแก้ไขภัยที่เกิดจากสภาพแวดล้อมทางสังคม โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขาดการนำข้อมูลที่เกิดขึ้นแก่นักเรียนโดยทั่วไปมาวางแผนด้านการดำเนินการรักษาความปลอดภัยให้แก่นักเรียน ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียนจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขาดบุคลากรที่มีความสามารถในการแก้ไขนักเรียนที่มีพฤติกรรมด้านอารมณ์ ซึ่งสอดคล้องผลวิจัยของ ณัฏฐนันท์ ปั้นลายนาค (2552) ที่ศึกษาการพัฒนาระบบการบริหารโรงเรียนประถม สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยแบบองค์รวม พบว่า สภาพและปัญหาการส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่โรงเรียนเคยประสบและกำลังประสบคือขาดครูที่มีความรู้เฉพาะทางด้านอนามัย และสอดคล้องกับผลวิจัยของ วรนุช อยู่เล่ห์ (2550: 88) ที่ศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท พบว่า ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย คือ ปัญหาด้านบุคลากรที่ไม่มีบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะ และไม่มีเวลาแก้ไขเด็กอย่างจริงจัง ด้านสัตว์มีพิษ จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านสัตว์มีพิษจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ครูขาดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ ซึ่งสอดคล้องผลวิจัยของ ของ ชัด แก้วมณี (2545: 94) ที่ศึกษาสภาพและปัญหาการจัดบริการความปลอดภัยในโรงเรียนอนุบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 3 พบว่า โรงเรียนพบปัญหาและอุปสรรคในด้านการบริการความปลอดภัยเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินงานว่า โรงเรียนมีการกำหนดนโยบายแต่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติของครู และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ วรนุช อยู่เล่ห์ (2550: 88) ที่ศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท พบว่า ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย คือ ปัญหาด้านบุคลากรที่มีอายุมาก และขาดความร่วมมือของบุคลากร ด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านผลกระทบจากการ สู้รบและความไม่สงบจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะผู้วิจัยไม่ได้แยกคำตอบระหว่างโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีการสู้รบและความไม่สงบออกจากโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเขตปกติ อย่างไรก็ตามตามมาตรฐานสากลแล้ว สำหรับการรักษาความปลอดภัยในด้านนี้ ไม่ว่าโรงเรียนจะตั้งอยู่ในเขตสู้รบหรือได้รับผลกระทบจากการสู้รบหรือไม่ การดำเนินตามมาตรการดังกล่าวอย่างเคร่งครัดส่งผลให้สถานศึกษามีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น (สพฐ, 2552: 90) สำหรับปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ขาดงบประมาณในการจัดทำหลุมหลบภัย ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะในกลุ่มโรงเรียนที่ห่างไกลจากเขตการสู้รบไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องมีหลุมหลบภัย แต่ในกรณีของโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ รัฐควรจัดงบประมาณในเรื่องนี้ให้กับโรงเรียนดังกล่าวเป็นอย่างยิ่ง | ||
- | + | ||
+ | |||
+ | '''ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย''' | ||
+ | ''ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย'' | ||
+ | 1)ควรกำหนดเป็นนโยบายให้สถานศึกษารายงานผลการปฏิบัติงานตามคู่มือตามที่ผลการวิจัยพบว่ามีสถานศึกษาที่ไม่ได้รับคู่มือ ซึ่งจะส่งผลต่อการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยและสัมพันธ์กับการรายงานผลการปฏิบัติงานตามคู่มือ ผู้วิจัยขอเสนอให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดเป็นนโยบายให้มีการรายงานผลการปฏิบัติตามคู่มือ โดยอาจทำการรายงานผ่านสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา มีระบบการรับ-ส่งที่สามารถตรวจสอบได้ตั้งแต่กระบวนการแจกคู่มือนี้ให้กับสถานศึกษา และการรายงานผลการปฏิบัติตามคู่มือดังกล่าว | ||
+ | 2)ควรกำหนดเป็นนโยบายให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจัดการพัฒนาบุคลากรด้านความปลอดภัย จากงานวิจัยที่พบว่าผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัย เข้ารับการอบรมไม่ถึงร้อยละ 50 ทำให้ขาดความรู้ในการปฏิบัติงาน ดังนั้นผู้วิจัยขอเสนอให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจัดทำเป็นนโยบายและแผนพัฒนากิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านความปลอดภัยที่หลากหลาย เช่น การจัดการอบรมโดยเชิญวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยมาให้ความรู้ การศึกษาดูงานโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จเรื่องการดำเนินการรักษาความปลอดภัย หรือสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วีซีดีให้ความรู้หรือแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา | ||
+ | 3)ควรกำหนดเป็นนโยบายให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานติดตามและประเมินผลการดำเนินงานรักษาความปลอดภัยตามคู่มือ จากการวิจัยที่พบว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งไม่ได้รับคู่มือ ซึ่งอาจทำให้ขาดการปฏิบัติตามมาตรการตามคู่มืออย่างเป็นรูปธรรม ผู้วิจัยจึงเสนอให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดนโยบายให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษาตามคู่มือ | ||
+ | |||
+ | ''ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ'' | ||
+ | 1)ควรกำหนดให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติงานตามคู่มืออย่างเป็นระบบ จากการวิจัยที่พบว่าสถานศึกษามีการปฏิบัติตามมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาทุกรายการ แต่ในบางรายการยังมีการปฏิบัติน้อย ผู้วิจัยขอเสนอให้ผู้บริหารสถานศึกษาจัดระบบการปฏิบัติตามคู่มืออย่างเป็นระบบโดยเริ่มจากการวางแผน การนำแผนไปใช้ การควบคุมติดตามและประเมินผล | ||
+ | 2)ควรให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินการตามมาตรการต่างๆ จากการวิจัยที่พบว่าการมีส่วนร่วมของชุมชนยังมีน้อยในหลายเรื่อง ผู้วิจัยขอเสนอให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน ร่วมคิด ร่วมทำ และร่วมตัดสินใจ เพื่อนำทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น | ||
+ | 3)ควรมีการสร้างเครือข่ายในการดำเนินการด้านความปลอดภัยของสถานศึกษา จากผลการวิจัยที่พบว่า การจัดสร้างเครือข่ายองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องยังมีน้อย ผู้วิจัยจึงขอเสนอแนะให้มีการจัดสร้างเครือข่ายในการดำเนินการด้านความปลอดภัย | ||
+ | |||
+ | ''ข้อเสนอแนะในงานวิจัยครั้งต่อไป'' | ||
+ | 1)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาสภาพการดำเนินงานตามคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาในทุกเรื่องกับสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยไม่ได้แยกสภาพของสถานศึกษาตามลักษณะภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อเป็นการศึกษาในภาพรวม งานวิจัยครั้งต่อไป ผู้วิจัยขอเสนอให้แยกศึกษาสถานศึกษาตามความแตกต่างของสถานภาพดังกล่าว เนื่องจากอาจมีผลการดำเนินการที่แตกต่างกันออกไป | ||
+ | 2)ในการทำวิจัยครั้งต่อไปควรทำการวิจัยเรื่องการดำเนินการรักษาความปลอดภัยและผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบแยกเป็นพิเศษ ทั้งนี้เนื่องจากสถานศึกษาที่อยู่ในสถานการณ์ดังกล่าวได้รับผลกระทบที่มีความรุนแรงเป็นอย่างมาก | ||
+ | 3)เนื่องจากการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเฉพาะผู้ให้ข้อมูลจากผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาเท่านั้น ในการทำการวิจัยครั้งต่อไปควรศึกษากลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เป็นผู้ปกครอง ชุมชน หรือผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในโรงเรียนด้วย ซึ่งจะได้คำตอบเพื่อไปปรับปรุงให้เกิดการดำเนินการให้เป็นไปอย่างถูกต้อง | ||
+ | |||
+ | |||
'''บรรณานุกรม'''จุลพงษ์ จุลสุคนธ์. นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการ. สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554.ชัด แก้วมณี .2545. สภาพและปัญหาการจัดบริการความปลอดภัยในโรงเรียนอนุบาล | '''บรรณานุกรม'''จุลพงษ์ จุลสุคนธ์. นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการ. สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554.ชัด แก้วมณี .2545. สภาพและปัญหาการจัดบริการความปลอดภัยในโรงเรียนอนุบาล | ||
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 3.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ชาญ ขวัญมุข. 2544. การประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎกำแพงเพชร.ณัฏฐนันท์ ปั้นลายนาค. 2552. การพัฒนาระบบการบริหารโรงเรียนประถมศึกษาเพื่อการส่งเสริมสุขภาพอนามัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ณัฎฐิยา แก้วถาวร. 2551. การจัดการความปลอดภัยในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 2 . การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.ดุษณีย์ ทองเกลี้ยง. 2546. สถานการณ์ความรุนแรงและการป้องกันในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ธีรวัฒน์ สมเพาะ. 2551. การจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเทศบาลสมุทรปราการ. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.ธงชัย สันติวงษ์ และ ชัยยศ สันติวงษ์. 2548. พฤติกรรมบุคคลในองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: ประชุมช่าง.พร้อมพิไล บัวสุวรรณ . 2551. กรอบแนวคิดการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา.ใน รายงานการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 46: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขามนุษย์ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์, หน้า 160 – 171 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพ.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. 2553. ราชกิจจานุเบกษา. 127 (22 กรกฎาคม 2553): 3. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548. 2548. ราชกิจจานุเบกษา. (30 กันยายน 2548): 2.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. 2550. ราชกิจจานุเบกษา. 124 (24 สิงหาคม 2550): 23.รสสุคนธ์ วัฒนรุกข์. 2545. สภาพและปัญหาการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยอนุบาลของโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.วิจิตร บุณยะโหตระ. 2530. วิชาความปลอดภัย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.วิไล กวางคิรี. 2550. บทบาทผู้บริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.วรนุช อยู่เล่ห์. 2550. การศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย. 2537. ประมวลสาระชุดวิชา : การบริหารสถานศึกษาปฐมวัย หน่วยที่ 12 - 15. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2554. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11(พ.ศ. 2555 – 2559) . [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/plan/p11/plan11.pdf [18 สิงหาคม 2554] สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2552. คู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2552. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. | สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 3.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ชาญ ขวัญมุข. 2544. การประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎกำแพงเพชร.ณัฏฐนันท์ ปั้นลายนาค. 2552. การพัฒนาระบบการบริหารโรงเรียนประถมศึกษาเพื่อการส่งเสริมสุขภาพอนามัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ณัฎฐิยา แก้วถาวร. 2551. การจัดการความปลอดภัยในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 2 . การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.ดุษณีย์ ทองเกลี้ยง. 2546. สถานการณ์ความรุนแรงและการป้องกันในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ธีรวัฒน์ สมเพาะ. 2551. การจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเทศบาลสมุทรปราการ. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.ธงชัย สันติวงษ์ และ ชัยยศ สันติวงษ์. 2548. พฤติกรรมบุคคลในองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: ประชุมช่าง.พร้อมพิไล บัวสุวรรณ . 2551. กรอบแนวคิดการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา.ใน รายงานการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 46: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขามนุษย์ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์, หน้า 160 – 171 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพ.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. 2553. ราชกิจจานุเบกษา. 127 (22 กรกฎาคม 2553): 3. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548. 2548. ราชกิจจานุเบกษา. (30 กันยายน 2548): 2.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. 2550. ราชกิจจานุเบกษา. 124 (24 สิงหาคม 2550): 23.รสสุคนธ์ วัฒนรุกข์. 2545. สภาพและปัญหาการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยอนุบาลของโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.วิจิตร บุณยะโหตระ. 2530. วิชาความปลอดภัย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.วิไล กวางคิรี. 2550. บทบาทผู้บริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.วรนุช อยู่เล่ห์. 2550. การศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย. 2537. ประมวลสาระชุดวิชา : การบริหารสถานศึกษาปฐมวัย หน่วยที่ 12 - 15. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2554. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11(พ.ศ. 2555 – 2559) . [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/plan/p11/plan11.pdf [18 สิงหาคม 2554] สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2552. คู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2552. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. | ||
เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์. 2548.ความปลอดภัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. | เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์. 2548.ความปลอดภัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. |
รุ่นปัจจุบันของ 03:24, 2 กรกฎาคม 2557
การศึกษาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน A STUDY OF THE SAFETY PROCEDURES OF EDUCATIONAL INSTITUTIONS AT THE SECONDARY EDUCATION LEVEL UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATION COMMISSION ปราณี อินทรักษา และ ปองสิน วิเศษศิริ
บทคัดย่อการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้กรอบการวิจัยตามคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 342 คน และผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา จำนวน 342 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากการศึกษาการดำเนินการรักษาความปลอดภัย 6 ด้าน ขอนำเสนอสิ่งที่ปฏิบัติมากที่สุดและน้อยที่สุดในแต่ละมาตรการเท่านั้น โดยขอเสนอเรียงตามลำดับมากน้อย ดังนี้ สภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัย พบว่า1) มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ - แต่งตั้งบุคลากรในการควบคุมดูแลรักษาอาคารสถานที่และพานักเรียนไปนอกสถานที่ -บันทึกเก็บสถิติจุดที่เกิดอุบัติเหตุ 2) มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย - จัดให้มีครูและนักการภารโรงอยู่เวรยาม - ติดตั้งระบบสัญญาณเตือนภัยพร้อมแผนผังการหนีไฟ 3) มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคม - ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือ -จัดหาจิตแพทย์เข้ามาศึกษาและให้ความรู้แก่นักเรียน 4) มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน - กำจัดของเสียในสถานศึกษา - จัดเรียนร่วมระหว่างเด็กที่มีปัญหาทางด้านพฤติกรรมอารมณ์กับเด็กปกติ 5) มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสัตว์มีพิษ - จัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น - จัดทำป้ายเตือนภัยจากสัตว์มีพิษ 6) มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ - แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ - ซักซ้อมการอพยพ จัดทำหลุมหลบภัย ปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัย พบว่า ในภาพรวมมีปัญหาอยู่ในระดับน้อยและน้อยที่สุด โดยปัญหาในระดับน้อยพบ 2 ด้าน คือ ด้านอุบัติเหตุและด้านอุบัติภัย ปัญหาในระดับน้อยที่สุดพบ 4 ด้าน คือ ด้านปัญหาทางสังคม ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน ด้านสัตว์มีพิษและด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ คำสำคัญ : ความปลอดภัยของสถานศึกษา / ความปลอดภัย / การดำเนินการ
ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก “ทุนอุดหนุนวิทยานิพนธ์สำหรับนิสิต” บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Pranee Intaruksa and Pongsin Viseshsiri
AbstractThis research was to study states and problems of the implementation of safety procedures in secondary schools based on the Handbook, B.E. 2552 by the Basic Education Commission. The sample population consisted of 342 school directors and 342 school personnel who hold responsibility as safety officers. The research instruments were questionnaires and the data was analyzed by using frequency, percentage, mean, and standard deviation.Research results were presented in six Safety Procedure Aspects. Only aspects that had been done the most and the least action wise were presented respectively as follows: The States of Safety Procedure Implementation: 1) Accident Prevention: - assigning of personnel for building and facilities maintenance as well as teachers during student field trips, - recording of the number of accidents. 2) Preparation for Natural Disasters: - assigning teachers and janitorsduty during day and night time, having a fire alarm system, evacuation plans and conducting fire drills. 3) Social Problems Prevention: following the students’ assistance system, arranging psychiatrists to examine and provide knowledge for students. 4) Student Health and Hygiene Prevention: managing waste treatment, organizing integrated classroom for students with learning disorders (LD) and regular students. 5) Poisonous Animals Prevention: providing a clean and tidy environment as well as installing warning signs for poisonous animals. 6) War and Terrorist Impact: assigning personnel responsible for monitoring current situations, practicing evacuation drills and providing bomb shelters. The Problems of Safety Procedure Implementation: Overall, the level of problems found in between the low and lowest ranges were as follows: Problems under low levels- Accidents Prevention and Natural Disaster Prevention. Problems under the lowest level - Social Problems Prevention, Student Health and Hygiene Prevention, Poisonous Animals Prevention, War and Terrorist Impact.
Keywords : SCHOOL SAFETY / SAFETY / OPERATION
บทนำ สถานการณ์ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะทางด้านเศรษฐกิจ ที่กลายเป็นตัวกระตุ้นที่สำคัญที่ก่อให้เกิดปัญหา ความรุนแรง การเอารัดเอาเปรียบ ส่วนทางด้านสังคม เป็นสังคมแห่งการแข่งขัน มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี แต่ด้านคุณธรรม จริยธรรมกลับเสื่อมถอยลง มีการแพร่กระจายของสารเสพติด โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชน เด็กและเยาวชนส่วนหนึ่งมีการเสพสื่อต่างๆ อย่างขาดการยั้งคิด เปิดรับบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ไม่สร้างสรรค์ ขาดการไตร่ตรองหรือขาดภูมิคุ้มกันทางความคิด ส่งผลให้มีพฤติกรรมเบี่ยงเบน ล่อแหลมต่อการทำผิดกฎหมาย หมิ่นเหม่ต่อศีลธรรมอันดีงามและมีค่านิยมที่ไม่พึงประสงค์ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน [สพฐ.], 2552: 6) นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านธรรมชาติ ซึ่งพบว่าในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา อุณหภูมิโลกสูงขึ้นโดยเฉลี่ย 0.2 องศาเซลเซียสต่อทศวรรษ ส่งผลให้สภาพภูมิอากาศแปรปรวน ก่อให้เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยครั้งและทวีความรุนแรง (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2554) สภาวะที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นภัยคุกคามที่มีผลต่อความปลอดภัยของเด็กและเยาวชน การดำรงชีวิตของเด็กและเยาวชนในปัจจุบันจึงอยู่ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและขาดการดูแลอย่างแท้จริง (พร้อมพิไล บัวสุวรรณ, 2551: 161)รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้กำหนดหน้าที่ของรัฐตามมาตรา 80 รัฐต้องดำเนินการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบ ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม อีกทั้งต้องคุ้มครอง พัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาคทั้งหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัว (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, 2550: 23) นอกจากนี้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มีจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553, 2553: 3)โรงเรียนนับว่าเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญต่อเด็กมาก ทั้งนี้เนื่องจากเด็กจะต้องใช้ชีวิตอยู่วันละ 6 – 7 ชั่วโมง ความรู้ ทัศนคติ ค่านิยม และประสบการณ์ต่างๆ ที่เด็กได้รับในโรงเรียน ย่อมมีอิทธิพลต่อจิตใจ ความสนใจ และอุดมคติในชีวิตการเรียนต่อไปจนถึงชีวิตในการทำงานของเด็กทุกคน ประการสำคัญโรงเรียนเป็นสถาบันที่จะสร้างเสริมประชาชนให้มีสุขภาพดี มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด และมีพฤติกรรมที่ปลอดภัย สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข และทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติได้เต็มความสามารถ (เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์, 2548: 101) ความปลอดภัยในสถานศึกษาจึงเป็นสิ่งสำคัญ ที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์จะประสบความสำเร็จพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับการเรียนรู้อย่างมีความสุขและการได้รับการปกป้องคุ้มครองให้มีความปลอดภัย กล่าวคือถ้าการศึกษาคือความเจริญงอกงาม บุคคลจะเจริญงอกงามต้องมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย เช่นเดียวกับประเทศอังกฤษ อเมริกา นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และฟิลิปปินส์ ประเทศเหล่านี้ให้ความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยเป็นลำดับแรกในการบริหารสถานศึกษา (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2537: 134)จากการศึกษาข้อมูลที่เกิดขึ้นกับเด็กที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาพบว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันมี อุบัติเหตุ อุบัติภัย และความรุนแรงเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาควรตระหนักและให้ความสำคัญ เพราะนักเรียนเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญของการจัดการศึกษา ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง ชุมชน จึงต้องแสวงหาหนทางที่ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข ได้รับการปลูกฝังเรื่องความปลอดภัยจนเกิดเป็นนิสัย อีกทั้งมีทักษะชีวิตในการดำรงชีพอยู่ท่ามกลางกระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลงและพัฒนาตนเองสู่ความเป็นเลิศตามมาตรฐานสากล ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจะได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปใช้ในการบริหารจัดการเรื่องความปลอดภัยของสถานศึกษา เพื่อให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3)พ.ศ. 2553
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิธีดำเนินการวิจัย แหล่งข้อมูลสำหรับการวิจัยประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 2,360 แห่ง กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 342 คน และผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา จำนวน 342 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้นจำนวน 684 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) และคำถามปลายเปิด (Open-ended) ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale)การเก็บรวบรวมข้อมูล1)ผู้วิจัยขอหนังสือราชการจากงานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ฝ่ายวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2)ผู้วิจัยดำเนินการเก็บข้อมูลทางไปรษณีย์และด้วยตัวเอง 3)ผู้วิจัยตรวจคัดเลือกแบบสอบถามที่ครบถ้วนและสมบูรณ์เพื่อนำไปวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) และหาค่าร้อยละ (Percentage) นำเสนอเป็นตารางประกอบความเรียง ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) หาค่าร้อยละ (Percentage) สำหรับส่วนที่เป็นคำถามปลายเปิด (Open-end) นำมาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วแสดงค่าความถี่ ตอนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา วิเคราะห์ โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
สรุปผลการวิจัยสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามผู้บริหารสถานศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุอยู่ระหว่าง 46 - 55 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาโท ประสบการณ์ทำงานในตำแหน่งผู้บริหาร 13 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่เข้ารับการอบรม/สัมมนาเกี่ยวกับการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา และได้รับคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 ส่วนผู้รับผิดชอบดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย อายุอยู่ระหว่าง 46 – 55 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ประสบการณ์ทำงานในการทำงานด้านการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา 6 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่ไม่เคยเข้ารับการอบรม/สัมมนาเกี่ยวกับการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา และได้รับคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2552 สภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานผู้วิจัยขอนำเสนอมาตรการรักษาความปลอดภัยตามคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา 6 ด้าน โดยที่มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุและมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมเท่านั้นที่มีรายการย่อยประกอบ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1.มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ พบว่า 1.1)อุบัติเหตุจากอาคารเรียน อาคารประกอบ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการแต่งตั้งบุคคลในการดูแลรักษาอาคารสถานที่ การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการติดตั้งอุปกรณ์และจัดสภาพห้องน้ำห้องส้วมที่เหมาะสมกับวัยและลักษณะของผู้ใช้งาน เช่น นักเรียน คนพิการ ผู้สูงอายุ 1.2)อุบัติเหตุจากบริเวณสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดให้มีผู้รับผิดชอบและตรวจสอบความปลอดภัยของบริเวณสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการบันทึกเก็บสถิติจุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งในสนามกีฬาเพื่อหาทางป้องกัน 1.3)อุบัติเหตุจากสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหลักสูตร ให้นักเรียนรู้จักการรักษาสภาพแวดล้อมและพัฒนาชุมชน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการโดยใช้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีส่วนร่วม 1.4)อุบัติเหตุจากเครื่องมือเครื่องใช้และอุปกรณ์ต่างๆ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบสภาพความพร้อม ความปลอดภัยและซ่อมแซมให้พร้อมในการใช้งาน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดทำคู่มือการใช้และการบำรุงรักษา 1.5)อุบัติเหตุจากการเดินทางไป – กลับ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดครูเวรปฏิบัติหน้าที่ดูแลการใช้รถใช้ถนนของนักเรียนบริเวณหน้าสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดทำทะเบียนรถทุกชนิด ทุกประเภทที่รับ – ส่งนักเรียน 1.6)อุบัติเหตุจากการพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ จัดให้มีครูในการควบคุมดูแล ให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการตรวจสอบบริษัทและคนขับยานพาหนะที่จ้างให้มีความเชื่อถือได้ในการขับขี่ 1.7)อุบัติเหตุจากการร่วมกิจกรรมสำคัญ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการกำหนดบุคลากรในการควบคุมดูแล ให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการหลีกเลี่ยงการใช้ลูกโป่งอัดแก๊สในงานที่ไม่จำเป็น สรุปได้ว่า ในเรื่องมาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการแต่งตั้งบุคลากรในการดูแลรักษาอาคารสถานที่และมีการจัดให้มีครูในการควบคุมดูแล ให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียนในการพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการบันทึกเก็บสถิติจุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้งในสนามกีฬาเพื่อหาทางป้องกัน
2.มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดให้ครูและนักการภารโรงอยู่เวรยามรักษาความปลอดภัยอย่างเคร่งครัดในแต่ละวันและยามวิกาล การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการติดตั้งระบบสัญญาณเตือนภัยพร้อมแผนผังการหนีไฟ ประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบและฝึกซ้อม
3.มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคม พบว่า 3.1)การล่วงละเมิดทางร่างกายและจิตใจ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดบรรยากาศภายในห้องเรียนและสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาให้มีความปลอดภัย และมีการใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการตรวจสอบแหล่งจำหน่ายหนังสือการ์ตูนและวารสาร ยั่วยุรอบบริเวณโรงเรียนอย่าให้มีขึ้น 3.2) การทำร้ายตัวเองและฆ่าตัวตาย การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดกิจกรรมธรรมะและการส่งเสริมพัฒนาสภาพจิตใจนักเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดหาจิตแพทย์เข้ามาศึกษาและให้ความรู้แก่นักเรียนในเรื่องจิตใจ 3.3)การเสพสารเสพติด การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างการยอมรับทางสังคม เช่น TO BE NUMBER ONE เวทีคนเก่ง อย.น้อย การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดกิจกรรมคืนคนดีสู่สังคมเพื่อให้โอกาสนักเรียนที่เคยติดสารเสพติด 3.4)การอุปโภคบริโภค การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการโภชนาการเพื่อกำกับติดตามดูแลและควบคุมคุณภาพอาหารและเครื่องดื่ม การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ จัดให้มีการวิจัยอาหารกลางวันที่จัดทำหรือจำหน่ายให้เกิดประโยชน์ในเชิงโภชนาการ 3.5)การทะเลาะวิวาท การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดให้มีหน่วยเคลื่อนที่เร็ว เพื่อเข้าระงับเหตุกรณีที่มีการทะเลาะวิวาท 3.6)การถูกล่อลวงและการลักพา การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดระบบรักษาความปลอดภัย จัดเวรยาม เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยในสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดกิจกรรมฟื้นฟูสภาพจิตใจให้กับผู้ได้รับผลกระทบ 3.7)สื่อลามกอนาจาร การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการดำเนินการควบคุมการดูแลการนำข้อมูลข่าวสารและสื่อบันเทิงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศไม่ให้เข้ามาเผยแพร่ในสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องในการตรวจตรา ควบคุมดูแล สื่อลามกอนาจารตามแหล่งจำหน่ายรอบบริเวณโรงเรียน 3.8)อบายมุข การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการกำกับติดตาม การมาเรียนของนักเรียนจากครูฝ่ายปกครอง ครูที่ปรึกษาพร้อมทั้งประสานงานกับ ผู้ปกครองในการเดินทางไป – กลับระหว่างบ้านและโรงเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดทำการสำรวจแหล่งอบายมุขหรือแหล่งมั่วสุม โดยจัดทำเป็นข้อมูลแผนที่ตั้งเพื่อการประสานงานกับครู ผู้รับผิดชอบผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่ตำรวจ 3.9)พฤติกรรมชู้สาว การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการประสานงานเชิญผู้ปกครองมารับทราบปัญหา และร่วมมือช่วยกันแก้ไขปัญหาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่เหมาะสม การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ ให้ฝ่ายกิจการนักเรียนเข้มงวดและตรวจตราสภาพที่พักของเด็กที่อยู่ตามหอพักและสถานที่ที่ไม่ใช่ผู้ปกครอง 3.10)อินเตอร์เน็ตและเกม การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดให้บริการอินเทอร์เน็ตกับนักเรียนในช่วงเวลาที่เหมาะสมตามบริบทของโรงเรียน และให้มีครูควบคุมดูแล การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดตั้งอาสาสมัครนักเรียนคอยตรวจสอบเว็บไซต์ หรือจัดให้ติดตั้งโปรแกรมตรวจจับเว็บไซต์ที่ไม่พึงประสงค์ และแจ้งให้หน่วยงานที่รับผิดชอบทราบ (กระทรวง ICT)สรุปได้ว่า ในเรื่องมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทางด้านสังคม การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดหาจิตแพทย์เข้ามาศึกษาและให้ความรู้แก่นักเรียนในเรื่องจิตใจ
4.มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการกำจัดของเสียในสถานศึกษา การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดเรียนร่วมระหว่างเด็กที่มีปัญหาทางด้านพฤติกรรมอารมณ์กับเด็กปกติ
5.มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสัตว์มีพิษ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งต้นไม้ กำจัดแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการจัดทำป้ายเตือนภัยจากสัตว์มีพิษในบริเวณที่เป็นจุดเสี่ยง
6.มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ การปฏิบัติที่พบมากที่สุด คือ มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการสู้รบและความไม่สงบ การปฏิบัติที่พบน้อยที่สุด คือ มีการซักซ้อมการอพยพ จัดทำหลุมหลบภัย และจัดหาที่พักพิงชั่วคราวไว้ล่วงหน้า ในกรณีที่อาจจะเกิดการสู้รบและความไม่สงบ ปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา พบว่าภาพรวมอยู่ในระดับน้อยและน้อยที่สุดโดยมีปัญหาในการปฏิบัติงานในระดับน้อย 2 ด้าน คือ ด้านอุบัติเหตุและด้านอุบัติภัย และมีปัญหาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด 4 ด้าน คือ ด้านปัญหาทางสังคม ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน ด้านสัตว์มีพิษและด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ พิจารณารายด้านมีรายละเอียด ดังนี้ ปัญหาด้านอุบัติเหตุ อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดงบประมาณ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดการเตรียมการและวางแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจนก่อนพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านอุบัติภัย อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์ในการป้องกันอัคคีภัย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดการตรวจสอบและแก้ไขปัจจัยที่ก่อให้เกิดอันตรายที่เกิดจากอุทกภัย มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาทางด้านสังคม อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดการนำข้อมูลที่เกิดขึ้นแก่นักเรียนโดยทั่วไปมาวางแผนด้านการดำเนินการรักษาความปลอดภัยให้แก่นักเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดการออกระเบียบว่าด้วยการเข้าออกโรงเรียนของนักเรียนอย่างชัดเจน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ขาดบุคลากรที่มีความสามารถในการแก้ไขนักเรียนที่มีพฤติกรรมด้านอารมณ์ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และทำเลที่ตั้งของโรงเรียนอยู่ใกล้โรงงานอุตสาหกรรมก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของนักเรียน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านสัตว์มีพิษ อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ครูขาดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และขาดบุคลากรในการจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งต้นไม้ กำจัดแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ปัญหาด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ อยู่ในระดับน้อยที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ขาดงบประมาณในการจัดทำหลุมหลบภัย มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และหลุมหลบภัยไม่ได้มาตรฐานและไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด
อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามจากผลการศึกษาพบว่า ครึ่งหนึ่งของผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยไม่เคยมีประสบการณ์เข้ารับการอบรม/สัมมนาในเรื่องนี้ ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะมีการอบรมเรื่องนี้ให้กับผู้บริหารแล้ว โดยคาดว่าผู้บริหารจะนำไปถ่ายทอดต่อซึ่งตรงกับผลการวิจัยที่พบว่าผู้บริหารได้รับการอบรมมากกว่าผู้รับผิดชอบ อย่างไรก็ตามผู้วิจัยยังเห็นว่าสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอาจไม่มีนโยบายที่ชัดเจนในการจัดอบรมหรือให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยของสถานศึกษาซึ่งสอดคล้องกับผลวิจัยของ ชัด แก้วมณี (2545) ที่ศึกษาสภาพและปัญหาการจัดบริการความปลอดภัยในโรงเรียนอนุบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 3 พบว่า ส่วนใหญ่ไม่เคยเข้ารับการอบรม ผู้วิจัยเห็นว่าควรมีการจัดอบรมให้กับผู้รับผิดชอบทั้งก่อนการมอบหมายหน้าที่และในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งสอดคล้องกับ ณัฎฐิยา แก้วถาวร (2551: 149) ที่กล่าวว่า การจัดอบรมครูด้านความปลอดภัยในโรงเรียนเป็นสิ่งที่สำคัญทุกโรงเรียนควรให้ความสำคัญในการจัดอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยในโรงเรียน จากการวิจัยที่พบว่ามีผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ไม่ได้รับคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 ผู้วิจัยเห็นว่าเป็นเรื่องสำคัญ เนื่องจากเมื่อไม่ได้รับคู่มือ อาจทำให้ไม่มีแนวทางหรือวิธีการปฏิบัติที่ชัดเจน ในความเป็นจริงแล้วสถานศึกษาทุกแห่งควรได้รับคู่มือ เนื่องจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีการจัดทำคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 ให้กับสถานศึกษา สถานศึกษาละ 1 เล่ม (จุลพงษ์ จุลสุคนธ์, สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554) ที่เป็นดังนี้อาจเนื่องมาจากไม่ได้มีการตรวจสอบการรับคู่มืออย่างเป็นรูปธรรม อีกทั้งขาดการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามคู่มืออย่างเป็นระบบ เป็นเรื่องที่น่าสังเกตว่าแม้ว่าไม่ได้รับคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา แต่กลับพบว่ามีการดำเนินงานตามมาตรการในทุกด้านและพบว่าปัญหาการดำเนินงานอยู่ในระดับน้อยที่สุด ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะ 1)มีการจัดอบรมให้กับผู้บริหารสถานศึกษาในเรื่องนี้มาแล้ว 2)ผู้บริหารสถานศึกษาอาจจะถ่ายทอดความรู้ที่ได้จากการอบรมให้กับครูผู้รับผิดชอบและบุคลากรในสถานศึกษาให้ช่วยกันดูแลเรื่องความปลอดภัยของนักเรียน 3)ในการสร้างอาคารเรียนหรืออาคารประกอบต่างๆ ของสถานศึกษาใช้แบบที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้ออกแบบให้มีความปลอดภัยอยู่แล้ว 4)ผู้บริหารสถานศึกษาและคณะครูอาจจะดูแลเรื่องความปลอดภัยเป็นประจำตามปกติ ทั้งหมดที่ได้กล่าวมานี้จะเห็นได้ว่าผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญ ผู้วิจัยเห็นว่าผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีประสบการณ์และผ่านเหตุการณ์ต่างๆ มากมาย จึงทำให้ผลการวิจัยพบว่ามีการดำเนินการตามมาตรการรักษาความปลอดภัยทุกด้าน และมีปัญหาในการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับ ธงชัย สันติวงษ์และชัยยศ สันติวงษ์ (2548: 104) ที่กล่าวว่า ปัจจัยหรือตัวแปรภายในตัวบุคคลที่มีผลกระทบต่อทั้งปริมาณและคุณภาพของงานอย่างหนึ่ง คือ ประสบการณ์การทำงาน สภาพการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้วิจัยขอนำเสนอเป็นด้านๆ แบ่งตามมาตรการป้องกันและแก้ไข 6 ด้าน ดังนี้ 1)มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการแต่งตั้งบุคลากรในการดูแลรักษาอาคารสถานที่ มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ วิไล กวางศรี (2550) ที่ศึกษาบทบาทผู้บริหารในการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษาพบว่า บทบาทของผู้บริหารด้านการจัดตั้งคณะกรรมการมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับ ธีรวัฒน์ สมเพาะ (2551) ที่ศึกษาการจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา พบว่าด้านการพัฒนากลุ่มความปลอดภัยในสถานศึกษาได้มีการมอบหมายให้หัวหน้าอาคารสถานที่เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดการความปลอดภัย และสอดคล้องกับ ชาญ ขวัญมุข (2544) ได้ศึกษาเรื่องการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา พบว่า สภาพการดำเนินการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียน ด้านการวางแผนการประกันความปลอดภัย มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียน อยู่ในระดับมาก จากผลการศึกษาที่พบว่าการปฏิบัติมากที่สุดอีกอย่างหนึ่งคือ สถานศึกษาจัดให้มีครูในการควบคุมดูแล ให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียนในการพานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ ซึ่งสอดคล้องกับระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548 ที่กล่าวว่าในการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษานั้น ให้หัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมายเป็นผู้ควบคุม และจะต้องมีครูเป็นผู้ช่วยผู้ควบคุมดูแลในการเดินทาง โดยครูหนึ่งคนต่อนักเรียนหรือนักศึกษาไม่เกิน 30 คน (ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548, 2548: 2) 2)มาตรการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการจัดครูและนักการ ภารโรงอยู่เวรยามรักษาความปลอดภัยอย่างเคร่งครัดในแต่ละวันและยามวิกาล มีการปฏิบัติมากที่สุด สอดคล้องกับวิจิตร บุณหะโหตระ (2530: 198) ที่กล่าวว่าการจัดตั้งคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยในหน่วยงาน เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้การป้องกันอุบัติภัยได้ผลดี ไม่ว่าคณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นนั้นจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544) ที่พบว่าสภาพการดำเนินการประกันความปลอดภัยด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย ข้อที่มีการดำเนินการสูงสุด คือ ครูและนักการภารโรงอยู่เวรยามอย่างเคร่งครัด 3)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสังคม จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษาดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ณัฎฐิยา แก้วถาวร (2551) ได้ศึกษาการจัดการความปลอดภัยในโรงเรียนประถมศึกษา พบว่าโรงเรียนมีการดำเนินการสร้างความปลอดภัยด้านระบบคุ้มครองเด็ก มีการป้องกันเด็กก่อพฤติกรรมรุนแรง โดยใช้วิธีการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ชัดเจน นำไปสู่การวางแผนให้ความช่วยเหลือนักเรียน และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ดุษณีย์ ทองเกลี้ยง (2546) ที่ศึกษาสถานการณ์ความรุนแรงและการป้องกันในโรงเรียนมัธยมศึกษา พบว่า ครูส่วนใหญ่ให้ความสำคัญ 3 อันดับแรกคือ มีการคัดกรองและดูแลช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง มีบัตรประจำตัวนักเรียนทุกคน และกำหนดนโยบายไม่ให้นักเรียนพกพาอาวุธ 4)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการกำจัดของเสียในสถานศึกษา มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการกำจัดของเสียในสถานศึกษา ที่ว่าสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในเขตชุมชน ต้องมีการรวบรวมขยะหรือของเสียที่สามารถเก็บขนได้ไว้ในสถานที่ที่เหมาะสมและมีเวลาจัดเก็บที่แน่นอน (สพฐ., 2552: 72) 5)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านสัตว์มีพิษจากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งต้นไม้ กำจัดแหล่งทีอยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2552: 89) ได้กำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านสัตว์มีพิษไว้ว่า สถานศึกษาต้องจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งต้นไม้ กำจัดแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์มีพิษ เพื่อให้มีความปลอดภัยแก่นักเรียน 6)มาตรการป้องกันและแก้ไขด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ จากผลการศึกษาพบว่าสถานศึกษามีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการสู้รบและความไม่สงบ มีการปฏิบัติมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (2552: 90) ได้กำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบไว้ว่า สถานศึกษาต้องมีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ ติดตามสถานการณ์ที่เกี่ยวกับการสู้รบและความไม่สงบ ปัญหาการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านอุบัติเหตุ จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านอุบัติเหตุจัดอยู่ในระดับน้อย ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544: 107) ที่ศึกษาการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถม ศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า ปัญหาด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ขาดงบประมาณ สอดคล้องผลวิจัยของ รสสุคนธ์ วัฒนรุกข์ (2545) ได้ศึกษาสภาพและปัญหาในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กอนุบาลของโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร พบว่ารายการที่มีปัญหาในการปฏิบัติ มากที่สุด คือ โรงเรียนขาดงบประมาณในการปรับปรุงสภาพแวดล้อม นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ วรนุช อยู่เล่ห์ (2550: 87) ที่ศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท พบว่า ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมส่งแสริมความปลอดภัย คือ มีปัญหาด้านงบประมาณ และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ วิไล กวางศรี (2550) ได้ศึกษาเกี่ยวกับบทบาทผู้บริหารในการบริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา พบว่ามีปัญหาในด้านการขาดงบประมาณ และขาดการสนับสนุนช่วยเหลือจากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านอุบัติภัย จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านอุบัติภัยจัดอยู่ในระดับน้อย ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544: 107) ที่ศึกษาการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า ปัญหาด้านการป้องกันและแก้ไขอุบัติภัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขาดงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์ในการป้องกันอัคคีภัย ผู้วิจัยเห็นว่าสถานศึกษาควรมีแนวทางในการส่งเสริมงบประมาณที่ชัดเจน ซึ่งสอดคล้องกับ (ณัฏฐิยา แก้วถาวร, 2551: 169 – 170) ที่กล่าวว่าสถานศึกษาควรกำหนดเป็นนโยบาย และนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติจริง จัดสรรและสนับสนุนงบประมาณเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง รวมถึงการระดมทรัพยากรต่างๆ จากแหล่งเงินทุนในท้องถิ่น ทั้งภาครัฐเอกชน เช่น การทอดผ้าป่าการศึกษา เพื่อระดมทุนจากชุมชน ที่อยู่รอบบริเวณโรงเรียน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ด้านปัญหาทางสังคม จากผลการศึกษาพบว่าด้านปัญหาสังคมจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ชาญ ขวัญมุข (2544: 108) ที่ศึกษาการประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร พบว่า ปัญหาด้านการป้องกันแก้ไขภัยที่เกิดจากสภาพแวดล้อมทางสังคม โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย และปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขาดการนำข้อมูลที่เกิดขึ้นแก่นักเรียนโดยทั่วไปมาวางแผนด้านการดำเนินการรักษาความปลอดภัยให้แก่นักเรียน ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียนจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขาดบุคลากรที่มีความสามารถในการแก้ไขนักเรียนที่มีพฤติกรรมด้านอารมณ์ ซึ่งสอดคล้องผลวิจัยของ ณัฏฐนันท์ ปั้นลายนาค (2552) ที่ศึกษาการพัฒนาระบบการบริหารโรงเรียนประถม สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยแบบองค์รวม พบว่า สภาพและปัญหาการส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่โรงเรียนเคยประสบและกำลังประสบคือขาดครูที่มีความรู้เฉพาะทางด้านอนามัย และสอดคล้องกับผลวิจัยของ วรนุช อยู่เล่ห์ (2550: 88) ที่ศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท พบว่า ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย คือ ปัญหาด้านบุคลากรที่ไม่มีบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะ และไม่มีเวลาแก้ไขเด็กอย่างจริงจัง ด้านสัตว์มีพิษ จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านสัตว์มีพิษจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ครูขาดความกระตือรือร้นในการปฏิบัติ ซึ่งสอดคล้องผลวิจัยของ ของ ชัด แก้วมณี (2545: 94) ที่ศึกษาสภาพและปัญหาการจัดบริการความปลอดภัยในโรงเรียนอนุบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 3 พบว่า โรงเรียนพบปัญหาและอุปสรรคในด้านการบริการความปลอดภัยเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินงานว่า โรงเรียนมีการกำหนดนโยบายแต่ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติของครู และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ วรนุช อยู่เล่ห์ (2550: 88) ที่ศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท พบว่า ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย คือ ปัญหาด้านบุคลากรที่มีอายุมาก และขาดความร่วมมือของบุคลากร ด้านผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ จากผลการศึกษาพบว่าปัญหาด้านผลกระทบจากการ สู้รบและความไม่สงบจัดอยู่ในระดับน้อยที่สุด ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะผู้วิจัยไม่ได้แยกคำตอบระหว่างโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีการสู้รบและความไม่สงบออกจากโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเขตปกติ อย่างไรก็ตามตามมาตรฐานสากลแล้ว สำหรับการรักษาความปลอดภัยในด้านนี้ ไม่ว่าโรงเรียนจะตั้งอยู่ในเขตสู้รบหรือได้รับผลกระทบจากการสู้รบหรือไม่ การดำเนินตามมาตรการดังกล่าวอย่างเคร่งครัดส่งผลให้สถานศึกษามีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น (สพฐ, 2552: 90) สำหรับปัญหาข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ขาดงบประมาณในการจัดทำหลุมหลบภัย ผู้วิจัยเห็นว่าอาจเป็นเพราะในกลุ่มโรงเรียนที่ห่างไกลจากเขตการสู้รบไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องมีหลุมหลบภัย แต่ในกรณีของโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบ รัฐควรจัดงบประมาณในเรื่องนี้ให้กับโรงเรียนดังกล่าวเป็นอย่างยิ่ง
ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
1)ควรกำหนดเป็นนโยบายให้สถานศึกษารายงานผลการปฏิบัติงานตามคู่มือตามที่ผลการวิจัยพบว่ามีสถานศึกษาที่ไม่ได้รับคู่มือ ซึ่งจะส่งผลต่อการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยและสัมพันธ์กับการรายงานผลการปฏิบัติงานตามคู่มือ ผู้วิจัยขอเสนอให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดเป็นนโยบายให้มีการรายงานผลการปฏิบัติตามคู่มือ โดยอาจทำการรายงานผ่านสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา มีระบบการรับ-ส่งที่สามารถตรวจสอบได้ตั้งแต่กระบวนการแจกคู่มือนี้ให้กับสถานศึกษา และการรายงานผลการปฏิบัติตามคู่มือดังกล่าว
2)ควรกำหนดเป็นนโยบายให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจัดการพัฒนาบุคลากรด้านความปลอดภัย จากงานวิจัยที่พบว่าผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัย เข้ารับการอบรมไม่ถึงร้อยละ 50 ทำให้ขาดความรู้ในการปฏิบัติงาน ดังนั้นผู้วิจัยขอเสนอให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจัดทำเป็นนโยบายและแผนพัฒนากิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านความปลอดภัยที่หลากหลาย เช่น การจัดการอบรมโดยเชิญวิทยากรหรือผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยมาให้ความรู้ การศึกษาดูงานโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จเรื่องการดำเนินการรักษาความปลอดภัย หรือสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วีซีดีให้ความรู้หรือแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา
3)ควรกำหนดเป็นนโยบายให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานติดตามและประเมินผลการดำเนินงานรักษาความปลอดภัยตามคู่มือ จากการวิจัยที่พบว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งไม่ได้รับคู่มือ ซึ่งอาจทำให้ขาดการปฏิบัติตามมาตรการตามคู่มืออย่างเป็นรูปธรรม ผู้วิจัยจึงเสนอให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดนโยบายให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษาตามคู่มือ
ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ 1)ควรกำหนดให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติงานตามคู่มืออย่างเป็นระบบ จากการวิจัยที่พบว่าสถานศึกษามีการปฏิบัติตามมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาทุกรายการ แต่ในบางรายการยังมีการปฏิบัติน้อย ผู้วิจัยขอเสนอให้ผู้บริหารสถานศึกษาจัดระบบการปฏิบัติตามคู่มืออย่างเป็นระบบโดยเริ่มจากการวางแผน การนำแผนไปใช้ การควบคุมติดตามและประเมินผล 2)ควรให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินการตามมาตรการต่างๆ จากการวิจัยที่พบว่าการมีส่วนร่วมของชุมชนยังมีน้อยในหลายเรื่อง ผู้วิจัยขอเสนอให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน ร่วมคิด ร่วมทำ และร่วมตัดสินใจ เพื่อนำทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3)ควรมีการสร้างเครือข่ายในการดำเนินการด้านความปลอดภัยของสถานศึกษา จากผลการวิจัยที่พบว่า การจัดสร้างเครือข่ายองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องยังมีน้อย ผู้วิจัยจึงขอเสนอแนะให้มีการจัดสร้างเครือข่ายในการดำเนินการด้านความปลอดภัย
ข้อเสนอแนะในงานวิจัยครั้งต่อไป 1)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาสภาพการดำเนินงานตามคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาในทุกเรื่องกับสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยไม่ได้แยกสภาพของสถานศึกษาตามลักษณะภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และสังคม เพื่อเป็นการศึกษาในภาพรวม งานวิจัยครั้งต่อไป ผู้วิจัยขอเสนอให้แยกศึกษาสถานศึกษาตามความแตกต่างของสถานภาพดังกล่าว เนื่องจากอาจมีผลการดำเนินการที่แตกต่างกันออกไป 2)ในการทำวิจัยครั้งต่อไปควรทำการวิจัยเรื่องการดำเนินการรักษาความปลอดภัยและผลกระทบจากการสู้รบและความไม่สงบแยกเป็นพิเศษ ทั้งนี้เนื่องจากสถานศึกษาที่อยู่ในสถานการณ์ดังกล่าวได้รับผลกระทบที่มีความรุนแรงเป็นอย่างมาก 3)เนื่องจากการวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเฉพาะผู้ให้ข้อมูลจากผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบการดำเนินการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาเท่านั้น ในการทำการวิจัยครั้งต่อไปควรศึกษากลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่เป็นผู้ปกครอง ชุมชน หรือผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในโรงเรียนด้วย ซึ่งจะได้คำตอบเพื่อไปปรับปรุงให้เกิดการดำเนินการให้เป็นไปอย่างถูกต้อง
บรรณานุกรมจุลพงษ์ จุลสุคนธ์. นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการ. สัมภาษณ์, 19 สิงหาคม 2554.ชัด แก้วมณี .2545. สภาพและปัญหาการจัดบริการความปลอดภัยในโรงเรียนอนุบาล
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 3.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ชาญ ขวัญมุข. 2544. การประกันความปลอดภัยแก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎกำแพงเพชร.ณัฏฐนันท์ ปั้นลายนาค. 2552. การพัฒนาระบบการบริหารโรงเรียนประถมศึกษาเพื่อการส่งเสริมสุขภาพอนามัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ณัฎฐิยา แก้วถาวร. 2551. การจัดการความปลอดภัยในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 2 . การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.ดุษณีย์ ทองเกลี้ยง. 2546. สถานการณ์ความรุนแรงและการป้องกันในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.ธีรวัฒน์ สมเพาะ. 2551. การจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเทศบาลสมุทรปราการ. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.ธงชัย สันติวงษ์ และ ชัยยศ สันติวงษ์. 2548. พฤติกรรมบุคคลในองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: ประชุมช่าง.พร้อมพิไล บัวสุวรรณ . 2551. กรอบแนวคิดการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการจัดการความปลอดภัยในสถานศึกษา.ใน รายงานการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 46: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขามนุษย์ศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์, หน้า 160 – 171 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพ.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. 2553. ราชกิจจานุเบกษา. 127 (22 กรกฎาคม 2553): 3. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการพานักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548. 2548. ราชกิจจานุเบกษา. (30 กันยายน 2548): 2.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. 2550. ราชกิจจานุเบกษา. 124 (24 สิงหาคม 2550): 23.รสสุคนธ์ วัฒนรุกข์. 2545. สภาพและปัญหาการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยอนุบาลของโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.วิจิตร บุณยะโหตระ. 2530. วิชาความปลอดภัย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.วิไล กวางคิรี. 2550. บทบาทผู้บริหารความปลอดภัยในสถานศึกษา.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.วรนุช อยู่เล่ห์. 2550. การศึกษาสภาพการดำเนินงานตามแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาขนาดใหญ่ จังหวัดชัยนาท. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย. 2537. ประมวลสาระชุดวิชา : การบริหารสถานศึกษาปฐมวัย หน่วยที่ 12 - 15. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2554. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11(พ.ศ. 2555 – 2559) . [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.nesdb.go.th/Portals/0/news/plan/p11/plan11.pdf [18 สิงหาคม 2554] สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2552. คู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2552. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์. 2548.ความปลอดภัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.