ฝุ่นละอองขนาดเล็กและสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนจากรถยนต์ดีเซลที่ใช้ไบโอดีเซล
จาก ChulaPedia
(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ล |
|||
แถว 1: | แถว 1: | ||
ประเทศไทยมีการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศในขณะที่ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงในตลาดโลกมีความผันผวนและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นทำให้ได้รับผลกระทบจากราคาน้ำมันผันผวนเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้ประเทศไทยจึงมีความสนใจใช้น้ำมันไบโอดีเซลเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีการสนับสนุนให้มีการปลูกพืชเพื่อผลิตเป็นไบโอดีเซลใช้ในประเทศ โดยมีการปรับเพิ่มสัดส่วนไบโอดีเซลที่จำหน่ายในท้องตลาดเพิ่มขึ้นจนมาถึงในปีพ.ศ.2558 ได้มีประกาศเพื่อปรับใช้น้ำมันไบโอดีเซล B7 แล้ว อย่างไรก็ตามการเผาไหม้ของน้ำมันเชื้อเพลิงไบโอดีเซลจากเครื่องยนต์ก็ยังคงทำให้เกิดปัญหาการปลดปล่อยฝุ่นละออง(Particulate Matter : PM) และสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons : PAHs) ในบรรยากาศได้เช่นเดียวกับน้ำมันดีเซลปกติ โดยผลกระทบจากฝุ่นละอองจะทำให้ทัศนะวิสัยในการมองเห็นลดลง รวมทั้งมีผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ และผลกระทบจากสาร PAHs คือความเป็นพิษในการก่อมะเร็งได้ | ประเทศไทยมีการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศในขณะที่ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงในตลาดโลกมีความผันผวนและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นทำให้ได้รับผลกระทบจากราคาน้ำมันผันผวนเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้ประเทศไทยจึงมีความสนใจใช้น้ำมันไบโอดีเซลเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีการสนับสนุนให้มีการปลูกพืชเพื่อผลิตเป็นไบโอดีเซลใช้ในประเทศ โดยมีการปรับเพิ่มสัดส่วนไบโอดีเซลที่จำหน่ายในท้องตลาดเพิ่มขึ้นจนมาถึงในปีพ.ศ.2558 ได้มีประกาศเพื่อปรับใช้น้ำมันไบโอดีเซล B7 แล้ว อย่างไรก็ตามการเผาไหม้ของน้ำมันเชื้อเพลิงไบโอดีเซลจากเครื่องยนต์ก็ยังคงทำให้เกิดปัญหาการปลดปล่อยฝุ่นละออง(Particulate Matter : PM) และสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons : PAHs) ในบรรยากาศได้เช่นเดียวกับน้ำมันดีเซลปกติ โดยผลกระทบจากฝุ่นละอองจะทำให้ทัศนะวิสัยในการมองเห็นลดลง รวมทั้งมีผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ และผลกระทบจากสาร PAHs คือความเป็นพิษในการก่อมะเร็งได้ | ||
จึงได้มีการศึกษาปริมาณฝุ่นละอองและสาร PAHs ที่ปล่อยจากไอเสียรถยนต์ดีเซลขนาดเล็กที่ใช้ไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิงโดยทดสอบด้วย chassis dynanometer ทำการเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองด้วยกระดาษกรอง จากนั้นนำกระดาษกรองทีได้มาสกัด PAHs โดยใช้ Acetonitrile เป็นตัวทำละลาย นำสารละลายที่สกัดได้มาวิเคราะห์หาปริมาณและชนิดของ PAHs ด้วยเครื่อง High Performance Liquid Chromatography (HPLC) โดยใช้ UV และ Fluorescence detector | จึงได้มีการศึกษาปริมาณฝุ่นละอองและสาร PAHs ที่ปล่อยจากไอเสียรถยนต์ดีเซลขนาดเล็กที่ใช้ไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิงโดยทดสอบด้วย chassis dynanometer ทำการเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองด้วยกระดาษกรอง จากนั้นนำกระดาษกรองทีได้มาสกัด PAHs โดยใช้ Acetonitrile เป็นตัวทำละลาย นำสารละลายที่สกัดได้มาวิเคราะห์หาปริมาณและชนิดของ PAHs ด้วยเครื่อง High Performance Liquid Chromatography (HPLC) โดยใช้ UV และ Fluorescence detector | ||
- | พบว่าปริมาณฝุ่นละอองที่พบจากไอเสียรถยนต์ที่ใช้น้ำมันไบโอดีเซลมีน้อยกว่าน้ำมันดีเซลและมีแนวโน้มความสัมพันธ์กับความเร็วของรถยนต์ทดสอบ โดยเมื่อใช้รถยนต์ที่ความเร็วสูงจะส่งผลให้ความเข้มข้นของฝุ่นละอองเพิ่มมากขึ้น ในส่วนของฝุ่นละอองแบบคัดขนาดพบว่าฝุ่นละอองในช่วงขนาด 7.0 - | + | พบว่าปริมาณฝุ่นละอองที่พบจากไอเสียรถยนต์ที่ใช้น้ำมันไบโอดีเซลมีน้อยกว่าน้ำมันดีเซลและมีแนวโน้มความสัมพันธ์กับความเร็วของรถยนต์ทดสอบ โดยเมื่อใช้รถยนต์ที่ความเร็วสูงจะส่งผลให้ความเข้มข้นของฝุ่นละอองเพิ่มมากขึ้น ในส่วนของฝุ่นละอองแบบคัดขนาดพบว่าฝุ่นละอองในช่วงขนาด 7.0 - > 7.0 µm มีความเข้มข้นของฝุ่นละอองมากที่สุด ในส่วนของ PAHs พบว่าความเข้มข้นของ PAHs ในฝุ่นละอองที่เก็บจากไอเสียรถยนต์ที่ใช้น้ำมันไบโอดีเซลมีน้อยกว่าในน้ำมันดีเซล ผลจากการจัดทำ emission profiles พบว่าในไอเสียจากรถยนต์ที่ใช้น้ำมันดีเซลมี PAHs ชนิดหลักๆเป็นชนิดที่มีโมเลกุลขนาดเล็กถึงปานกลาง (2-4 วงแหวน) ในส่วนของไอเสียจากรถยนต์ที่ใช้น้ำมันไบโอดีเซลจะพบสารที่มีโมเลกุลปานกลางถึงสูง (4-6 วงแหวน) มากกว่า |
อย่างไรก็ตามในส่วนของความเป็นพิษของสาร PAHs แต่ละชนิดในน้ำมันไบโอดีเซลยังคงต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมต่อไปเนื่องจาก PAHs เป็นสารที่มีหลายรูปแบบ และมีความรุนแรงในการก่อให้เกิดอันตรายหรือความเป็นพิษได้แตกต่างกันซึ่งควรนำมาใช้พิจารณาประกอบกับการตัดสินใช้เลือกใช้น้ำมันเชื้อเพลิงชนิดต่างๆด้วย | อย่างไรก็ตามในส่วนของความเป็นพิษของสาร PAHs แต่ละชนิดในน้ำมันไบโอดีเซลยังคงต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมต่อไปเนื่องจาก PAHs เป็นสารที่มีหลายรูปแบบ และมีความรุนแรงในการก่อให้เกิดอันตรายหรือความเป็นพิษได้แตกต่างกันซึ่งควรนำมาใช้พิจารณาประกอบกับการตัดสินใช้เลือกใช้น้ำมันเชื้อเพลิงชนิดต่างๆด้วย |
รุ่นปัจจุบันของ 07:27, 16 เมษายน 2560
ประเทศไทยมีการนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศในขณะที่ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงในตลาดโลกมีความผันผวนและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นทำให้ได้รับผลกระทบจากราคาน้ำมันผันผวนเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้ประเทศไทยจึงมีความสนใจใช้น้ำมันไบโอดีเซลเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีการสนับสนุนให้มีการปลูกพืชเพื่อผลิตเป็นไบโอดีเซลใช้ในประเทศ โดยมีการปรับเพิ่มสัดส่วนไบโอดีเซลที่จำหน่ายในท้องตลาดเพิ่มขึ้นจนมาถึงในปีพ.ศ.2558 ได้มีประกาศเพื่อปรับใช้น้ำมันไบโอดีเซล B7 แล้ว อย่างไรก็ตามการเผาไหม้ของน้ำมันเชื้อเพลิงไบโอดีเซลจากเครื่องยนต์ก็ยังคงทำให้เกิดปัญหาการปลดปล่อยฝุ่นละออง(Particulate Matter : PM) และสารโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons : PAHs) ในบรรยากาศได้เช่นเดียวกับน้ำมันดีเซลปกติ โดยผลกระทบจากฝุ่นละอองจะทำให้ทัศนะวิสัยในการมองเห็นลดลง รวมทั้งมีผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์ และผลกระทบจากสาร PAHs คือความเป็นพิษในการก่อมะเร็งได้ จึงได้มีการศึกษาปริมาณฝุ่นละอองและสาร PAHs ที่ปล่อยจากไอเสียรถยนต์ดีเซลขนาดเล็กที่ใช้ไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิงโดยทดสอบด้วย chassis dynanometer ทำการเก็บตัวอย่างฝุ่นละอองด้วยกระดาษกรอง จากนั้นนำกระดาษกรองทีได้มาสกัด PAHs โดยใช้ Acetonitrile เป็นตัวทำละลาย นำสารละลายที่สกัดได้มาวิเคราะห์หาปริมาณและชนิดของ PAHs ด้วยเครื่อง High Performance Liquid Chromatography (HPLC) โดยใช้ UV และ Fluorescence detector พบว่าปริมาณฝุ่นละอองที่พบจากไอเสียรถยนต์ที่ใช้น้ำมันไบโอดีเซลมีน้อยกว่าน้ำมันดีเซลและมีแนวโน้มความสัมพันธ์กับความเร็วของรถยนต์ทดสอบ โดยเมื่อใช้รถยนต์ที่ความเร็วสูงจะส่งผลให้ความเข้มข้นของฝุ่นละอองเพิ่มมากขึ้น ในส่วนของฝุ่นละอองแบบคัดขนาดพบว่าฝุ่นละอองในช่วงขนาด 7.0 - > 7.0 µm มีความเข้มข้นของฝุ่นละอองมากที่สุด ในส่วนของ PAHs พบว่าความเข้มข้นของ PAHs ในฝุ่นละอองที่เก็บจากไอเสียรถยนต์ที่ใช้น้ำมันไบโอดีเซลมีน้อยกว่าในน้ำมันดีเซล ผลจากการจัดทำ emission profiles พบว่าในไอเสียจากรถยนต์ที่ใช้น้ำมันดีเซลมี PAHs ชนิดหลักๆเป็นชนิดที่มีโมเลกุลขนาดเล็กถึงปานกลาง (2-4 วงแหวน) ในส่วนของไอเสียจากรถยนต์ที่ใช้น้ำมันไบโอดีเซลจะพบสารที่มีโมเลกุลปานกลางถึงสูง (4-6 วงแหวน) มากกว่า อย่างไรก็ตามในส่วนของความเป็นพิษของสาร PAHs แต่ละชนิดในน้ำมันไบโอดีเซลยังคงต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมต่อไปเนื่องจาก PAHs เป็นสารที่มีหลายรูปแบบ และมีความรุนแรงในการก่อให้เกิดอันตรายหรือความเป็นพิษได้แตกต่างกันซึ่งควรนำมาใช้พิจารณาประกอบกับการตัดสินใช้เลือกใช้น้ำมันเชื้อเพลิงชนิดต่างๆด้วย