การประชาสัมพันธ์
จาก ChulaPedia
แถว 16: | แถว 16: | ||
1. เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขความเข้าใจผิดที่เกิดขึ้น มิให้เกิด การเคลือบแคลงระแวง สงสัย | 1. เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขความเข้าใจผิดที่เกิดขึ้น มิให้เกิด การเคลือบแคลงระแวง สงสัย | ||
+ | |||
2. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจอันดี | 2. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจอันดี | ||
+ | |||
3. เพื่อรักษาชื่อเสียงของหน่วยงาน | 3. เพื่อรักษาชื่อเสียงของหน่วยงาน | ||
+ | |||
4. เพื่อสร้างศรัทธาและความเชื่อมั่นตลอดไป | 4. เพื่อสร้างศรัทธาและความเชื่อมั่นตลอดไป | ||
- | 5. เพื่อให้ประชาชนทราบความประสงค์ของหน่วยงาน | + | |
+ | 5. เพื่อให้ประชาชนทราบความประสงค์ของหน่วยงาน | ||
+ | |||
6. เพื่อให้ข่าวหรือเรื่องราวแก่สื่อมวลชนอย่างตรงไปตรงมา | 6. เพื่อให้ข่าวหรือเรื่องราวแก่สื่อมวลชนอย่างตรงไปตรงมา | ||
+ | |||
7. เพื่อให้ผู้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงานเข้าใจการประชาสัมพันธ์ทุกครั้ง | 7. เพื่อให้ผู้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงานเข้าใจการประชาสัมพันธ์ทุกครั้ง | ||
+ | |||
เขียนโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรวรรณ องค์ครุฑรักษา | เขียนโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรวรรณ องค์ครุฑรักษา |
การปรับปรุง เมื่อ 10:24, 20 สิงหาคม 2553
ความหมายที่1
Publicหมายถึง ประชา หมู่คณะ
Relations หมายถึง สัมพันธ์ การผูกพัน
Public Relations คือ การเกี่ยวข้องผูกพันกับประชาชน
ความหมายที่2
การประชาสัมพันธ์หมายถึงความพยายามที่มีการวางแผนในอันที่จะมีอิทธิพลต่อความคิดเห็นของประชาชน โดยอาศัยวิธีการที่ยอมรับกันในสังคมเพื่อยอมรับการดำเนินการของสถาบันและเป็นการสื่อสารสองทางที่ก่อให้เกิดความพอใจทั้งสองฝ่าย อ้างจากCutlip and Center (คัทลิบและเซนเตอร์)
วัตถุประสงค์ของการประชาสัมพันธ์
1. เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขความเข้าใจผิดที่เกิดขึ้น มิให้เกิด การเคลือบแคลงระแวง สงสัย
2. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจอันดี
3. เพื่อรักษาชื่อเสียงของหน่วยงาน
4. เพื่อสร้างศรัทธาและความเชื่อมั่นตลอดไป
5. เพื่อให้ประชาชนทราบความประสงค์ของหน่วยงาน
6. เพื่อให้ข่าวหรือเรื่องราวแก่สื่อมวลชนอย่างตรงไปตรงมา
7. เพื่อให้ผู้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงานเข้าใจการประชาสัมพันธ์ทุกครั้ง
เขียนโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรวรรณ องค์ครุฑรักษา