ผึ้ง (honeybee)
จาก ChulaPedia
(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
แถว 1: | แถว 1: | ||
- | + | ผึ้งเป็นแมลงที่มีการดำรงชีวิตเป็นสังคม ภายในรังประกอบด้วยผึ้ง 3 วรรณะ ได้แก่ ผึ้งนางพญา ผึ้งงาน และผึ้งตัวผู้ โดยผึ้งนางพญาและผึ้งงานสามารถต่อยได้เนื่องจากมีเหล็กในซึ่งพัฒนามาจากอวัยวะวางไข่ที่พบในแมลงทั่วไป ส่วนผึ้งตัวผู้จะไม่สามารถต่อยได้ ตามปกติภายในรังจะพบผึ้งนางพญาเพียงตัวเดียว ผึ้งงานมีจำนวนนับพันหรือหมื่นตัวขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของรัง ในขณะที่ผึ้งตัวผู้จะไม่พบในรังตลอดเวลาและมีจำนวนนับร้อยตัว ไม่มากเหมือนกับผึ้งงาน ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านกีฏวิทยา: ชีววิทยาของผึ้ง ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงและไร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำการศึกษาวิจัยชีววิทยาด้านต่าง ๆ ของผึ้งมาเป็นเวลานับยี่สิบปีมาแล้ว | |
- | ผึ้งเป็นแมลงที่มีการดำรงชีวิตเป็นสังคม ภายในรังประกอบด้วยผึ้ง 3 วรรณะ ได้แก่ ผึ้งนางพญา ผึ้งงาน และผึ้งตัวผู้ โดยผึ้งนางพญาและผึ้งงานสามารถต่อยได้เนื่องจากมีเหล็กในซึ่งพัฒนามาจากอวัยวะวางไข่ที่พบในแมลงทั่วไป ส่วนผึ้งตัวผู้จะไม่สามารถต่อยได้ ตามปกติภายในรังจะพบผึ้งนางพญาเพียงตัวเดียว ผึ้งงานมีจำนวนนับพันหรือหมื่นตัวขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของรัง ในขณะที่ผึ้งตัวผู้จะไม่พบในรังตลอดเวลาและมีจำนวนนับร้อยตัว ไม่มากเหมือนกับผึ้งงาน ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านกีฏวิทยา: ชีววิทยาของผึ้ง ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงและไร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำการศึกษาวิจัยชีววิทยาด้านต่าง ๆ ของผึ้งมาเป็นเวลานับยี่สิบปีมาแล้ว | + | |
+ | |||
== อ้างอิง == | == อ้างอิง == | ||
<reference/> | <reference/> | ||
[http://www.google.com เว็บกูเกิ้ล] | [http://www.google.com เว็บกูเกิ้ล] |
การปรับปรุง เมื่อ 08:06, 21 กันยายน 2553
ผึ้งเป็นแมลงที่มีการดำรงชีวิตเป็นสังคม ภายในรังประกอบด้วยผึ้ง 3 วรรณะ ได้แก่ ผึ้งนางพญา ผึ้งงาน และผึ้งตัวผู้ โดยผึ้งนางพญาและผึ้งงานสามารถต่อยได้เนื่องจากมีเหล็กในซึ่งพัฒนามาจากอวัยวะวางไข่ที่พบในแมลงทั่วไป ส่วนผึ้งตัวผู้จะไม่สามารถต่อยได้ ตามปกติภายในรังจะพบผึ้งนางพญาเพียงตัวเดียว ผึ้งงานมีจำนวนนับพันหรือหมื่นตัวขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของรัง ในขณะที่ผึ้งตัวผู้จะไม่พบในรังตลอดเวลาและมีจำนวนนับร้อยตัว ไม่มากเหมือนกับผึ้งงาน ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านกีฏวิทยา: ชีววิทยาของผึ้ง ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงและไร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำการศึกษาวิจัยชีววิทยาด้านต่าง ๆ ของผึ้งมาเป็นเวลานับยี่สิบปีมาแล้ว
อ้างอิง
<reference/> เว็บกูเกิ้ล