ภาพลักษณ์อาชีวะ
จาก ChulaPedia
แถว 1: | แถว 1: | ||
- | + | == การวิเคราะห์ภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาตามทัศนะของนักเรียน: การวิจัยแบบผสมวิธี โดย วชิรวิทย์ ยางไชยและอวยพร เรืองตระกูล == | |
- | + | '''บทคัดย่อ''' การวิเคราะห์ภาพลักษณ์มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์ภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาตามความคิดเห็นของนักเรียน เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาระหว่างนักเรียนที่มีภูมิหลังและมีบริบทของโรงเรียนแตกต่างกัน การวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ การศึกษาเชิงคุณภาพในระยะต้น และการศึกษาเชิงปริมาณในระยะที่สอง ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมัธยมศึกษาเห็นว่าภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาโดยรวมทั้ง 8 ด้านอยู่ในระดับพอใช้ทุกด้าน โดยเรียงจากด้านที่มีภาพลักษณ์ดีสุดไปต่ำสุดพบว่า ด้านหลักสูตรการศึกษามีภาพลักษณ์ดีที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ด้านความก้าวหน้าในอาชีพ ด้านสื่อการเรียนการสอน ด้านผู้บริหารและคณาจารย์ ด้านนักเรียนนักศึกษาและด้านการศึกษาต่อ (2) นักเรียนมัธยมศึกษาที่มีเพศ เกรดเฉลี่ย ระดับชั้น การศึกษา อาชีพและรายได้ของผู้ปกครองต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแต่ละด้านต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) นักเรียนมัธยมศึกษาที่มีประเภทของโรงเรียน ที่ตั้งของโรงเรียนและภูมิภาคต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแต่ละด้านต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
- | '''บทคัดย่อ''' | + | |
- | + | ||
- | + | ||
- | + | ||
- | + | ||
- | + | ||
- | + | ||
- | + | ||
- | + |
การปรับปรุง เมื่อ 02:59, 12 กุมภาพันธ์ 2556
การวิเคราะห์ภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาตามทัศนะของนักเรียน: การวิจัยแบบผสมวิธี โดย วชิรวิทย์ ยางไชยและอวยพร เรืองตระกูล
บทคัดย่อ การวิเคราะห์ภาพลักษณ์มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์ภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาตามความคิดเห็นของนักเรียน เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาระหว่างนักเรียนที่มีภูมิหลังและมีบริบทของโรงเรียนแตกต่างกัน การวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ระยะคือ การศึกษาเชิงคุณภาพในระยะต้น และการศึกษาเชิงปริมาณในระยะที่สอง ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมัธยมศึกษาเห็นว่าภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาโดยรวมทั้ง 8 ด้านอยู่ในระดับพอใช้ทุกด้าน โดยเรียงจากด้านที่มีภาพลักษณ์ดีสุดไปต่ำสุดพบว่า ด้านหลักสูตรการศึกษามีภาพลักษณ์ดีที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม ด้านความก้าวหน้าในอาชีพ ด้านสื่อการเรียนการสอน ด้านผู้บริหารและคณาจารย์ ด้านนักเรียนนักศึกษาและด้านการศึกษาต่อ (2) นักเรียนมัธยมศึกษาที่มีเพศ เกรดเฉลี่ย ระดับชั้น การศึกษา อาชีพและรายได้ของผู้ปกครองต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแต่ละด้านต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) นักเรียนมัธยมศึกษาที่มีประเภทของโรงเรียน ที่ตั้งของโรงเรียนและภูมิภาคต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแต่ละด้านต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05