หน้าหลัก
จาก ChulaPedia
เนื้อหา |
จุฬาวิทยานุกรม
เข้าสู่ระบบ
บุคคลทั่วไป สามารถทำการดูข้อมูลได้เท่านั้น ไม่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มเติมข้อมูลใดๆ ได้
คณะทำงานกรุณาล็อกอิน ที่มุมขวาบนก่อนเสมอเพื่อเข้าใช้งานระบบอย่างเต็มรูปแบบ
การสร้างบทความใหม่
1. ภายหลัง การเข้าสู่ระบบ ให้ไปที่แถบ Address ด้านบน ที่ปรากฏ URL ของ Chulapedia
แล้วทำการแก้ไข URL โดยใส่ชื่อบทความที่ท่านต้องการสร้าง ต่อท้าย http://www.chulapedia.chula.ac.th/index.php/
โดยแทนที่คำว่า "หน้าหลัก" หรือโค้ดที่ปรากฏใน URL แล้วกดปุ่ม enter
Example
- http:// www.chulapedia.chula.ac.th/index.php/จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- http:// www.chulapedia.chula.ac.th/index.php/จามจุรี
2. ท่านจะเข้าสู่หน้าบทความ ตามชื่อเรื่องหรือหัวข้อที่ท่านตั้งไว้
- ในกรณีที่ มีผู้อื่นสร้างบทความเรื่องนั้นๆไว้แล้ว จะปรากฏเนื้อหาที่มีผู้สร้างไว้ ซึ่งท่านสามารถร่วมเพิ่มเติมข้อมูลได้ โดยคลิกที่ tab "แก้ไข" ที่อยู่เหนือชื่อบทความ
- ในกรณีที่ ยังไม่มีผู้ใดสร้างบทความดังกล่าว ในหน้าบทความจะปรากฏข้อความแจ้งว่า "ขณะนี้ไม่มีเนื้อหาในหน้านี้ คุณสามารถ ค้นหาชื่อบทความนี้ ในหน้าอื่น ค้นหาบันทึกที่เกี่ยวข้อง หรือแก้ไขหน้านี้"
ซึ่งท่านสามารถสร้างเนื้อหาบทความได้ โดยคลิกที่ tab "สร้าง" ที่อยู่เหนือชื่อบทความ
3. ท่านสามารถใส่เนื้อหาบทความได้ตามที่ท่านต้องการ เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว โปรดคลิกที่ปุ่ม "บันทึก" ด้านล่าง
การ upload files เพื่อการแทรกภาพ และทำลิงค์เชื่อมโยงเอกสาร
ท่านสามารถ Upload รูปภาพหรือเอกสารได้ที่อัปโหลด ในเครื่องมือเพิ่มทางด้านซ้ายมือ
แล้วทำการคัดลอกชื่อไฟล์ที่ท่านได้ทำการ Upload เอาไว้
เมื่อท่านต้องการแทรกภาพหรือเชื่อมโยงไฟล์อื่น ให้กดเลือกที่เมนูด้านบน
แล้วทำการเปลี่ยน Example.jpg เป็นชื่อไฟล์ที่ท่านได้ทำการ Upload
เลือกเป็น จะพบคำสั่ง [ [ ไฟล์ : Example.jpg ] ] หากท่านต้องการแสดงภาพในเนื้อหา (สำหรับรูปภาพ .png, .gif, .jpg, .jpeg, .tiff .bmp)
เลือกเป็น จะพบคำสั่ง [ [ สื่อ : Example.jpg ] ] หากท่านต้องการทำลิงค์เพื่อDownload (สำหรับเอกสาร .doc, .docx, .xls, .xlsx, .ppt, .pptx, .pdf)
เนื่องจากไฟล์ทุกไฟล์จะเก็บอยู่ที่เดียวกันทั้งหมด กรุณาตั้งชื่อไฟล์ให้มีคำที่แตกต่างกัน หรือมีคำที่สื่อฝ่าย/หน่วยงาน เช่น IT_image001.jpg
พื้นที่ซ้อมขีดเขียน
พื้นที่ซ้อมขีดเขียน มีไว้สำหรับให้ท่านหัดใช้ระบบ ท่านสามารถเลือกพื้นที่นี้จากป้ายบอกทางด้านซ้ายมือ แล้วเลือกแล้วทดลองแก้ไขข้อมูลในหัวข้อต่างๆ ได้อย่างอิสระ โดยไม่ต้องกลัวว่าจะทำให้ระบบเกิดความเสียหาย
เอกสารคู่มือ
- เอกสารแนะนำจุฬาวิทยานุกรม (ภาษาไทย)
- คู่มือการใช้งานจุฬาวิทยานุกรมเบื้องต้น (ภาษาไทย)
- คู่มือการเริ่มต้นใช้งาน (ภาษาอังกฤษ)
- รายการการปรับแต่งระบบ (ภาษาอังกฤษ)
- คำถามที่ถามบ่อยในมีเดียวิกิ (ภาษาอังกฤษ)
- เมลลิงลิสต์ของมีเดียวิกิ
การใช้งานสำหรับนิสิตผู้รับทุนจากบัณฑิตวิทยาลัย
นิสิตผู้รับทุนจะต้องนำองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยตามหัวข้อวิทยานิพนธ์
มาจัดทำเป็นบทความสำหรับเผยแพร่บนระบบสารานุกรมออนไลน์ "จุฬาวิทยานุกรม"
เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงองค์ความรู้และมีเนื้อหาที่สามารถเข้าใจได้ง่าย
ความยาวไม่เกิน 500 คำ และตั้งชื่อหัวข้อบทความด้วยคำสำคัญที่สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน ความยาวไม่เกิน 20 ตัวอักษร
นิสิตที่รับทุนจากบัณฑิตวิทยาลัยและจะต้องส่งองค์ความรู้เข้าสู่ระะบบนี้หลังจบการศึกษา
กรุณาจัดการนำเรื่องขึ้นระบบให้เรียบร้อยก่อนวันที่ 28 กุมภาพันธ์
เอกสารแนะนำการเข้าใช้งานในระบบ
- การเข้าใช้งานในระบบ (ภาษาไทย)
ติดต่อสอบถาม
หากมีข้อสงสัยในการใช้งาน โปรดติดต่อ:
ศูนย์เครือข่ายห้องสมุดดิจิทัลฯ ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาฯ (amornrat.s@car.chula.ac.th)